1 / 45

การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “ กองทุน FTA: เพิ่มศักยภาพการแข่งขันขันข้าวไทยสู่สากล ”

การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “ กองทุน FTA: เพิ่มศักยภาพการแข่งขันขันข้าวไทยสู่สากล ” กองทุน FTA กับการพัฒนาศักยภาพสินค้าข้าว โดย นาง ราตรี พูนพิริยะทรัพย์ ผู้อำนวยการส่วนบริหารกองทุนภาคการเกษตร สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร 8 กันยายน 2554 ณ โรงแรมโฆษะ จังหวัดขอนแก่น.

risa-yang
Download Presentation

การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “ กองทุน FTA: เพิ่มศักยภาพการแข่งขันขันข้าวไทยสู่สากล ”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “กองทุน FTA: เพิ่มศักยภาพการแข่งขันขันข้าวไทยสู่สากล” กองทุน FTA กับการพัฒนาศักยภาพสินค้าข้าว โดย นางราตรี พูนพิริยะทรัพย์ ผู้อำนวยการส่วนบริหารกองทุนภาคการเกษตร สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร 8 กันยายน 2554 ณ โรงแรมโฆษะ จังหวัดขอนแก่น

  2. มูลค่าการส่งออกข้าวไทยมูลค่าการส่งออกข้าวไทย และประเทศผู้นำเข้ารายใหญ่(2553) หน่วย: ล้านบาท สหรัฐฯ 13,864 8.24% โกตดิวัวร์ 10,453 6.21% ไนจีเรีย 19,984 11.88% แอฟริกาใต้ 9,614 5.72% อิรัก 7,214 4.29% รวม 168,193 100% จีน 6,876 4.09% อื่น ๆ 88,529 52.64% ฮ่องกง 6,777 4.03% ญี่ปุ่น 4,882 2.90%

  3. สถานการณ์การผลิตข้าว  ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกข้าวประมาณ 66 -69 ล้านไร่  มีเกษตรกรทำนาประมาณ 3.7 ล้านครัวเรือน ผลผลิตเฉลี่ย (ปี2551) ไทย 453 กก./ไร่ เวียดนาม 822 กก./ไร่ อินโดนีเซีย 752 กก./ไร่ พม่า 634 กก./ไร่ มาเลเซีย 584 กก./ไร่ กัมพูชา 438 กก./ไร่  ประเทศไทยส่งออกข้าวมูลค่าประมาณ 200,000 ล้านบาท/ปี

  4. ผลผลิตข้าวต่อไร่ของประเทศอาเซียนผลผลิตข้าวต่อไร่ของประเทศอาเซียน

  5. เมื่อปี 2535 มีการจัดตั้ง AFTA ซึ่งเป็นการริเริ่มเขตการค้าเสรีอาเซียน ASEAN ปี 2553 ไทย ต้องลดภาษีนำเข้าเหลือร้อยละ 0 และยกเลิกโควตา ปี 2558 จัดตั้งเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เปิดเสรีการค้า บริการ แรงงาน และทุน

  6. แนวทางรองรับการเปิดเสรีสินค้าเกษตร 23 รายการ(บทบาทภาครัฐ) ขั้นที่ 1 : บริหารการนำเข้า ณ ด่านศุลกากร ขั้นที่ 2 : เยียวยาเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบ (ปรับโครงสร้างการผลิตให้สามารถแข่งขันได้โดยใช้เงินสนับสนุนจากกองทุน FTA กษ.) ขั้นที่ 3: ใช้มาตรการปกป้องพิเศษ (เพื่อระงับผลกระทบชั่วคราว โดย กรมศุลกากร กรมการค้าต่างประเทศ แล ะสศก. ติดตามและเฝ้าระวังการนำเข้า หากนำเข้าผิดปกติให้เสนอคณะกรรมการฯ ที่ดูแลสินค้า 23 รายการพิจารณาการเก็บค่าธรรมเนียมปกป้อง => แจ้ง พณ. และ ก. คลัง => เสนอครม. เพื่อเก็บค่าธรรมเนียมปกป้อง)

  7. แนวทางการปรับตัวของเกษตรกรแนวทางการปรับตัวของเกษตรกร • เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต • ลดต้นทุนการผลิต • ปรับปรุงคุณภาพผลผลิต (สอดคล้องกับความต้องการของตลาด) • ผลิตสินค้าที่หลากหลายเพื่อลดความเสี่ยง • แปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า หรือเก็บรักษาได้นานขึ้น • ปรับเปลี่ยนอาชีพ • น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ 7 7 7

  8. พัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวนาพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวนา การบริหารจัดการ ขนส่งและบริการ การพัฒนาการผลิต การตลาด ระหว่างประเทศ การพัฒนาชาวนา การจัดระบบตลาด & พัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนาคุณภาพผลิตผล สร้างมูลค่าเพิ่ม เพิ่มผลผลิตต่อไร่ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ข้าวไทย การรักษาเสถียรภาพราคา

  9. สถานการณ์ด้านเมล็ดพันธุ์ข้าวสถานการณ์ด้านเมล็ดพันธุ์ข้าว ความต้องการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าว ปีละ 1.0 ล้านตัน  หน่วยงานราชการมีกำลังการผลิตได้เพียง ปีละ 100,000 ตัน เอกชนผลิตโดยไม่มีมาตรฐานรองรับ เกษตรกรบางส่วนเก็บพันธุ์ข้าวใว้ปลูกเอง

  10. ปริมาณเมล็ดข้าวดีที่ต้องผลิตปริมาณเมล็ดข้าวดีที่ต้องผลิต รวม 571,000 ตัน/ปี • ราชการ+สหกรณ์+เอกชน 221,000 ตัน • จากศูนย์ข้าวชุมชน 350,000 ตัน ∴ ศูนย์ข้าวชุมชน 7,000 ศูนย์ ต้องผลิตศูนย์ละ 50 ตัน (เป้าหมาย) ขอบเขตศูนย์ละ 8,000 ไร่ (ประมาณ 1 ตำบล)

  11. โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวและสร้างความเข้มแข็งให้ชาวนา เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าอาเซียน (AFTA) วัตถุประสงค์ • เพื่อยกระดับผลผลิตข้าว ปรับปรุงคุณภาพข้าว ลดต้นทุน • การผลิตให้สามารถแข่งขันได้ • เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้องค์กรชาวนาในชุมชน • ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี และเป็นศูนย์กลาง • การเรียนรู้ในการผลิตข้าวของชาวนา

  12. โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวและสร้างความเข้มแข็งให้ชาวนา เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าอาเซียน (AFTA) • พัฒนาศูนย์ข้าวหลัก 5 ศูนย์ และศูนย์ข้าวชุมชนเครือข่าย 50 ศูนย์ รวม 55 ศูนย์ ในพื้นที่ 5 จังหวัด คือ สุรินทร์ อุดรธานี อำนาจเจริญ นครสวรรค์ และอ่างทอง • จัดตั้งหมู่บ้านต้นแบบการลดต้นทุน ในพื้นที่นำร่อง 6 จังหวัด คือ สุรินทร์ อุดรธานี อำนาจเจริญ นครสวรรค์ อ่างทอง และนครศรีธรรมราช • ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 ปี • งบประมาณ 128.91 ล้านบาท • (จ่ายขาด 101.41 ล้านบาท หมุนเวียน 27.50 ล้านบาท)

  13. วิธีดำเนินงาน การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี จัดเวทีชุมชน จัดทำแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ดี • ศูนย์ละ 200 ไร่ • สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ข้าว ศูนย์ละ 3 ตัน การตรวจสอบและรับรองคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว • GAP Seed การติดตามให้คำแนะนำทางวิชาการ สนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็น • โรงเก็บเมล็ดพันธุ์ • ลานตากข้าว • เครื่องคัดเมล็ด เครื่องวัดความชื้น สนับสนุนเงินยืมสำหรับรับซื้อเมล็ดพันธุ์คืนจากสมาชิก ศูนย์ละ 500,000 บาท

  14. วิธีดำเนินงาน การพัฒนาศักยภาพชาวนา และองค์กรชาวนาให้เข้มแข็ง การสร้างศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวชุมชน • สร้างชาวนาชั้นนำศูนย์ละ 5 คน • สร้างชาวนามืออาชีพ ศูนย์ละ 50 คน • สร้างชาวนารุ่นใหม่ ศูนย์ละ 25 คน • ถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูป การสร้างมูลค่าเพิ่ม • พัฒนาระบบการเตือนภัยธรรมชาติและศัตรูข้าว • จัดตั้งศูนย์บริการชาวนา และเครือข่าย • จัดตั้งหมู่บ้านต้นแบบลดต้นทุนการผลิต • จัดทำสื่อต่างๆ • ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีลดต้นทุน • จัดตั้งศูนย์เรียนรู้และบริการเครื่องจักรกล • ตั้งคณะกรรมการศูนย์ๆ ละ 5 คน • จัดตั้งแกนนำชาวนาจากชาวนาชั้นนำ ศูนย์ละ 1 คน พัฒนาองค์กรชาวนาให้เข้มแข็ง

  15. ประโยชน์ที่ได้รับ มีเมล็ดพันธุ์ข้าวดีในชุมชนเพิ่มขึ้น ปีละ 2,750 ตัน กระจายในชุมชนปีละ 180,000 ไร่ เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจำหน่ายเมล็ดพันธุ์ 1,100 ครัวเรือน มีรายได้ครัวเรือนละ 5,000 บาท/ปี รวม 5.5 ล้านบาท/ปี ผลผลิตเพิ่มขึ้น ปีละ 14,400 ตัน (ไร่ละ 80 กิโลกรัม) คิดเป็นมูลค่า 140 ล้านบาท ต้นทุนในการผลิตข้าวลดลง ตันละ 1,000 บาท

  16. โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันข้าวไทยสู่สากล

  17. โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันข้าวไทยสู่สากล • วัตถุประสงค์ • สนับสนุนให้สหกรณ์การเกษตร เป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี • ส่งเสริมเกษตรกรปลูกพืชตระกูลถั่ว สลับกับการทำนา • เพื่อให้กับเกษตรกรมีความรู้ในการผลิตข้าวคุณภาพดีได้มาตรฐาน ลดการใช้สารเคมี • เพื่อให้เกษตรกรมีความสามารถในการแข่งขัน

  18. โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันข้าวไทยสู่สากล • เป้าหมาย • พื้นที่ดำเนินการในจังหวัดพิษณุโลก สุโขทัย และจังหวัดพิจิตร • พื้นที่การผลิตเมล็ดพันธุ์ขั้นพันธุ์จำหน่าย (R3) รายละ 10 ไร่ จำนวน 360 ราย รวมพื้นที่ปลูก 3,600 ไร่ • ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ได้ 3,402 ตัน/ปี • ระยะเวลาดำเนินการ 3 ปี (2554/55 – 2556/57) • งบประมาณ 55.88 ล้านบาท • จ่ายขาด 8.41 ล้านบาท • เงินยืมปลอดดอกเบี้ย 47.17 ล้านบาท

  19. โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันข้าวไทยสู่สากล วิธีดำเนินการ ส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ ผลิตเมล็ดพันธุ์คุณภาพดี ส่งเสริมการปลูกถั่วสลับการทำนา • ถ่ายทอดเทคโนโลยี/ศึกษาดูงาน การผลิตเมล็ดพันธุ์ • สนับสนุนปัจจัยการผลิตแก่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ไร่ละ 750 บาท/รอบการผลิต • จ้างเจ้าหน้าที่เพื่อติดตามให้คำแนะนำเกษตรกร • สนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนสำหรับการผลิตเมล็ดพันธุ์ให้เกษตรกรรายละ 30,000 บาท • สหกรณ์รวบรวมเมล็ดพันธุ์ที่ผลิตได้จากสมาชิก เพื่อนำไปปรับปรุงในโรงงานปรับปรุงเมล็ดพันธุ์ • สหกรณ์ควบคุมและตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ให้ได้มาตรฐาน • พัฒนาตราสินค้า และจัดทำบรรจุภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน • สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ถั่ว ไร่ละ 700 บาท/ฤดูการผลิต เพื่อพักดินตัดวงจรโรคแมลง • ส่งเสริมให้ลดการใช้น้ำ โดยเกษตรกรทำนาจากปีละ 3 ครั้ง เหลือปีละ 2 ครั้ง

  20. โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของสหกรณ์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันข้าวไทยสู่สากล • ผลที่คาดว่าจะได้รับ • เกษตรกรจะสามารถลดต้นทุนการผลิต ผลผลิตเพิ่มขึ้น ผลิตข้าวที่มีคุณภาพ • สหกรณ์จะเป็นศูนย์กลางการผลิตและจำหน่ายและการกระจายพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพดีได้มาตรฐาน • การผลิตข้าวของไทยมีศักยภาพในการผลิตสูงขึ้น ผลผลิตเฉลี่ยสูงขึ้น ผลิตข้าวได้คุณภาพมาตรฐาน

  21. ระบบการผลิตข้าวคุณภาพระบบการผลิตข้าวคุณภาพ ตลาด กำลังซื้อสูง รับสมัคร/ ขึ้นทะเบียน Niche Market ระบบตรวจสอบย้อนกลับ สร้างตราสัญลักษณ์ Q-Brand Rice ระบบการผลิตเมล็ดพันธุ์ Q-Seed Traceability ตรวจสอบ & รับรองโรงสี ตรวจสอบ & รับรอง GAP เครือข่าย ศูนย์ข้าวชุมชน GMP Mill ผลผลิตคุณภาพ Q-Farm Q-Grain Q-Seed to Q-Brand Rice การสร้างตราสัญลักษณ์

  22. แนวคิด โครงการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตข้าวสารคุณภาพมาตรฐาน สถาบันเกษตรกร เข้าร่วมโครงการ การปลูกข้าวใช้ ระบบการผลิต ที่ดี (GAP) ผลผลิต ไร่นาด้วยเทคโนโลยีและ ข้าวเปลือกคุณภาพ มาตรฐาน ข้าวสาร Q- mark โรงสี ที่มีระบบการ แปรสภาพข้าวเปลือก ที่ได้มาตรฐาน ขั้นตอน เป้าหมาย Q-Grain Q-Product Q-Seed Q-Farm Q-Process ตรวจสอบและรับรองระบบการผลิตข้าว GAP - รับรองแบบรายเดี่ยว - รับรองแบบกลุ่ม พัฒนา&ถ่ายทอดความรู้ เกษตรกร เป้าหมาย - ระบบการผลิตข้าว GAP - การรวมกลุ่มและระบบควบคุมภายในของกลุ่ม พัฒนา&ถ่ายทอดความรู้ โรงสีสหกรณ์การเกษตร - ระบบจัดการ GMP - การบริหารเงินทุนหมุนเวียน • พัฒนาและส่งเสริมการตลาด • ส่งเสริมการตลาด • จ้างนักการตลาดมืออาชีพ • ส่งเสริมการสร้าง Brand • ข้าวสาร Q โครงการ /กิจกรรม • - กรมส่งเสริมการเกษตร • กรมส่งเสริมสหกรณ์ • มกอช. • - กรมการข้าว • มกอช. • กรมส่งเสริมสหกรณ์ • กรมการข้าว • มกอช. - กรมส่งเสริมสหกรณ์ - กรมส่งเสริมการเกษตร - กรมการข้าว - มกอช. หน่วยงาน รับผิดชอบ

  23. กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ FTA 24

  24. กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตกองทุนปรับโครงสร้างการผลิต ภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ การแข่งขันของประเทศ ตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ 20 กรกฎาคม 2547 สร้างขีดความ สามารถในการ แข่งขันให้กับ สินค้าเกษตร • - เพื่อปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร • ปฏิรูปผลิตผลทางการเกษตร • เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต • และพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร • - เพื่อแปรรูปสร้างมูลค่าเพิ่ม • สินค้าเกษตร • เพื่อช่วยเหลือให้เกษตรกร • ปรับเปลี่ยนจากการผลิตสินค้า • ที่ไม่มีศักยภาพสู่สินค้าที่มีศักยภาพ • - สนับสนุนปัจจัยการผลิต • และเทคโนโลยี • สนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา • ให้ความรู้ ฝึกอบรม • และดูงาน • ให้การสนับสนุนด้าน • โครงสร้างพื้นฐานการเกษตร • - ปรับเปลี่ยนอาชีพ วัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ การสนับสนุน 25

  25. องค์กรที่รับผิดชอบ คณะกรรมการบริหารกองทุนปรับ - พิจารณาอนุมัติโครงการที่เกษตรกร โครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อ หน่วยงานของรัฐหรือภาคเอกชนเสนอขอรับ เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน การสนับสนุน ของประเทศ - กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีใช้เงินกองทุน ติดตาม ผลการดำเนินงานของโครงการที่ได้รับอนุมัติ - ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย คณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครง - กำหนดมาตรการหรือกรอบโครงการ พิจารณา การเสนอขอรับเงินสนับสนุนกองทุน กลั่นกรองความเหมาะสมของโครงการ ปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร - ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการบริหาร กองทุนฯมอบหมาย คณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์ - กำหนดแนวทางการประชาสัมพันธ์กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อ โครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน - ให้ความเห็นชอบการจัดทำแผนประชาสัมพันธ์ของประเทศ โครงการต่างๆ - เสนอแนะการเลือกใช้สื่อต่างๆอย่างครบวงจรเพื่อกระจายข่าวสาร อำนาจหน้าที่ อำนาจหน้าที่ อำนาจหน้าที่ 26

  26. ขั้นตอนการกำกับดูแลการใช้เงินกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรขั้นตอนการกำกับดูแลการใช้เงินกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร 1 2 3 4 เสนอผ่าน เสนอผ่าน เกษตรกร หน่วยงานของ รัฐ ภาคเอกชน จัดทำโครงการตามหัวข้อเค้าโครงข้อเสนอโครงการ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร รวบรวมตรวจสอบวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ แก้ไขปรับปรุง หน่วยงานที่รับผิดชอบตามสายงานเป็นหน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงการ 5 7 6 ไม่ผ่าน แก้ไข ไม่ผ่าน แก้ไข ไม่เห็นชอบ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวมทั้งผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง พิจารณาความเป็นไปได้ของโครงการ คณะอนุกรรมการกลั่นกรองฯ พิจารณาความเป็นไปได้ของโครงการ เสนอคณะกรรมการบริหารกองทุนปรับโครงสร้างฯ เพื่ออนุมัติโครงการ ผ่าน เห็นชอบ เห็นชอบ 8 9 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร จัดสรรเงินเป็นรายปี ตามแผนปฏิบัติงาน/ แผนการใช้เงิน สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ติดตามการดำเนินงาน การใช้จ่ายเงิน และรายงานคณะกรรมการบริหารกองทุน อนุมัติ

  27. เป็นโครงการที่เสนอ โดยเกษตรกร สถาบันเกษตรกร หรือ • องค์กรเกษตรกรและภาคเอกชน ซึ่งต้องได้รับผลกระทบ • โดยตรงหรือโดย อ้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า • หากเป็นเกษตรกรต้องเสนอในนามของสถาบันเกษตรกรหรือ • องค์กรเกษตรกรที่ได้รับการยอมรับจากส่วนราชการ สถาบัน เกษตรกระและภาคเอกชนต้องเสนอโครงการผ่านส่วนราชการหรือ หน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบตามสายงาน • กรณีโครงการ งาน หรือกิจกรรมที่เสนอโดยหน่วยงานของรัฐ • ต้องเป็นโครงการ งานหรือกิจกรรมที่ดำเนินการปรับโครงสร้าง • การผลิตเพื่อลดผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้าและเป็น • โครงการที่เกิดจากความต้องการหรือการมีส่วนร่วมของเกษตรกร • เป็นโครงการที่มีศักยภาพทั้งในด้านการผลิตและการตลาด • หากเป็นโครงการวิจัยต้องเป็นการวิจัยประยุกต์หรือวิจัยด้าน • การตลาด ที่ให้ผลการวิจัยไม่เกิน 1 ปี • กรณีเป็นโครงการ หรือกิจกรรม ที่จะไปทดแทนกิจกรรมเดิม • จะต้องให้ผลตอบแทนไม่น้อยกว่ากิจกรรมเดิม • เป็นโครงการที่มีแนวทางปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ที่จะ • ช่วยลดต้นทุนการผลิตให้สามารถแข่งขันได้ หลักเกณฑ์การพิจารณาโครงการ 28

  28. กรอบและเงื่อนไขการสนับสนุนเงินกรอบและเงื่อนไขการสนับสนุนเงิน เงินจ่ายขาด ให้เฉพาะกรณีหรือค่าใช้จ่าย ดังต่อไปนี้  ค่าปัจจัยการผลิตในกรณีทดลอง/สาธิต/นำร่อง  ค่าใช้จ่ายต่างๆ สำหรับงานวิจัยต้องเป็นการวิจัยประยุกต์ (Applied Research) หรือการวิจัยด้านการตลาด โดยมีผลวิจัยในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี และต้องไม่เป็นโครงการ วิจัยขั้นพื้นฐาน (Basic Research)  ค่าใช้จ่ายในการถ่ายทอดเทคโนโลยี อาทิ การฝึกอบรม การสัมมนา การศึกษา ดูงาน  ค่าใช้จ่ายดำเนินงานหรือค่าบริหารโครงการของหน่ายงานราชการตามหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกำหนด หรือตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน ร้อยละ 3 ของงบประมาณ โครงการ  ค่าใช้จ่ายต่างๆ นอกเหนือจากที่ระบุข้างต้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการ บริหารกองทุน 29

  29. กรอบและเงื่อนไขการสนับสนุนเงิน (ต่อ) เงินหมุนเวียนให้เฉพาะกรณีหรือค่าใช้จ่าย ดังต่อไปนี้ ●การช่วยเหลือสำหรับโครงการ ซึ่งได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า อันเนื่องมาจากนโยบายของรัฐ ●การช่วยเหลือสำหรับโครงการที่ริเริ่มใหม่ รวมทั้งกรณีจูงใจให้เกิดการผลิต หรือเปลี่ยนแปลงการผลิต ●ค่าใช้จ่ายที่สนับสนุนได้แก่ -ค่าลงทุนต่างๆ อาทิ ค่าก่อสร้างโรงเรือน/โรงงาน ค่าเครื่องมือ อุปกรณ์ -ค่าใช้จ่ายหมุนเวียนในการผลิต ●กรณีกู้ยืมจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กองทุนจะชดเชย ดอกเบี้ยให้ทั้งหมด ●วงเงินให้ยืมและกำหนดการชำระคืนให้เป็นไปตามลักษณะการดำเนินงาน/ ความจำเป็นของแต่ละโครงการ เงินยืมคิดดอกเบี้ย ให้เฉพาะโครงการหรือกิจกรรมที่ได้รับผลตอบแทนคุ้มค่าการลงทุน โดยวงเงินให้ยืม กำหนดการชำระคืน และอัตราดอกเบี้ยให้เป็นไปตามมติคณะกรรมการ บริหารกองทุนฯ 30

  30. หัวข้อและรายละเอียดโครงการขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนฯหัวข้อและรายละเอียดโครงการขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนฯ ชื่อโครงการชื่อเรื่องของโครงการที่เสนอขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนฯ เจ้าของโครงการหน่วยงานของรัฐ (กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่มีฐานะ เป็นกรมและรัฐวิสาหกิจ) ภาคเอกชน (สถาบัน องค์กรนิติบุคคลที่ ดำเนินการด้านเกษตร) หลักการและเหตุผล แสดงถึงเหตุผลและความจำเป็นที่ต้องจัดทำโครงการเพื่อลด ผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า (FTAAFTA WTO ฯลฯ) ซึ่งต้อง ชี้แจงให้ชัดเจนว่าเมื่อเปิดเสรีทางการค้าแล้วมีผลทำให้มีการนำเข้า สินค้านั้น จากประเทศที่ทำข้อตกลงทางการค้านับตั้งแต่วันลงนาม เพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงไร หากไม่ดำเนินการช่วยเหลือจะมีผลกระทบ ต่อเกษตรกรอย่างไร วัตถุประสงค์ แสดงถึงจุดมุ่งหมายของการดำเนินโครงการว่าทำเพื่ออะไร สามารถแก้ไขปัญหาอะไร วิธีดำเนินการ แสดงถึงรายละเอียดของขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม ของโครงการ (กรณีระยะเวลาดำเนินโครงการเกินกว่า 1 ปี ให้แยก กิจกรรมเป็นรายปี) 31

  31. หัวข้อและรายละเอียดโครงการขอรับการสนับสนุนมาจากกองทุนฯ (ต่อ) เป้าหมาย/ขอบเขต ระบุถึงจำนวน/ปริมาณ/กลุ่มพื้นที่ที่ต้องการดำเนินการ การดำเนินงาน ในโครงการ ระยะเวลาโครงการ แสดงถึงระยะเวลาที่กองทุนฯ สนับสนุนงบประมาณ ระยะเวลาดำเนินการ แสดงถึงจำนวนระยะเวลาในการดำเนินการ เริ่มต้นตั้งแต่ปีไหน สิ้นสุดปีไหน (รวมระยะเวลาชำระคืนเงินหมุนเวียน หากมีการ ขอสนับสนุนเป็นเงินหมุนเวียนด้วย) งบประมาณ แสดงถึงรายละเอียดของงบประมาณแต่ละหมวดในแต่ละ กิจกรรมตามวิธีการดำเนินงาน (กรณีระยะเวลาดำเนิน โครงการเกินกว่า 1 ปี ให้แยกงบประมาณเป็นรายปี) และ แจกแจงงบประมาณเป็นงบเงินจ่ายขาดและงบเงินหมุนเวียน/ เงินยืมและต้องระบุเงื่อนไขและแผนการคืนเงินให้ชัดเจน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ แสดงถึงผลของการดำเนินโครงการเมื่อเสร็จสิ้นแล้ว ช่วย ลดผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้าอย่างไรบ้าง ใคร เป็นผู้ได้รับและลดผลกระทบได้ในปริมาณมากน้อยเพียงใด สมควรแสดงเป็นตัวเลขเชิงปริมาณ 32

  32. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554) ดำเนินการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ผลิตสินค้าที่ได้รับผลกระทบจาการเปิดเสรีการค้า จำนวน 7 สินค้า 14 โครงการ งบประมาณ รวม 637.33 ล้านบาท (จ่ายขาด 430.62 ล้านบาท หมุนเวียน 206.71 ล้านบาท ) ได้แก่ โคเนื้อ โคนม สุกร ชา ปาล์มน้ำมัน กาแฟ และข้าว รายละเอียด ดังนี้

  33. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554) 34

  34. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554) 35

  35. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2553) 36

  36. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2553) 37

  37. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554) 38

  38. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554) 39

  39. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554) 40

  40. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554) 41

  41. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)

  42. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)

  43. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2554)

  44. สนใจติดต่อขอรับการสนับสนุนสนใจติดต่อขอรับการสนับสนุน กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โทร. 0-2561-4727 โทรสาร 0-2561-4726 www2.oae.go.th/FTA E-mail: FTA@oae.go.th 45

More Related