1 / 22

บรรยายโดย นายสมเกียรติ อนุราษฎร์

บรรยายโดย นายสมเกียรติ อนุราษฎร์. รองประธานกรรมการหอการค้าไทย และ อดีตประธานสภาธุรกิจชายแดนภาคใต้ IMT-GT ปี 2547-2551. 1.ความเป็นมา. การก่อตั้ง : ริเริ่มในปี พ.ศ.2536 เชื่อมโยงพื้นที่ 3 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย : จังหวัดสุมาตราเหนือ เขตปกครองพิเศษอาเจห์ สุมาตราใต้

rinah-hicks
Download Presentation

บรรยายโดย นายสมเกียรติ อนุราษฎร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บรรยายโดย นายสมเกียรติ อนุราษฎร์ รองประธานกรรมการหอการค้าไทย และ อดีตประธานสภาธุรกิจชายแดนภาคใต้ IMT-GT ปี 2547-2551

  2. 1.ความเป็นมา • การก่อตั้ง: ริเริ่มในปี พ.ศ.2536 • เชื่อมโยงพื้นที่ 3 ประเทศ คือ • อินโดนีเซีย:จังหวัดสุมาตราเหนือ เขตปกครองพิเศษอาเจห์ สุมาตราใต้ สุมาตราตะวันตก เรียว จัมบี เบงกูลู เรียวไอซ์แลนด์ บังกา-เบอลิตุง และจังหวัดลัมปุง • มาเลเซีย:รัฐปะลิส เกดะห์ ปีนัง เประ สลังงอร์ กลันตัน มะละกา และรัฐเนกรี-เซมบิลัน • ไทย:จังหวัดสงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง ภูเก็ต พังงา กระบี่ สุราษฎร์ธานี ระนองและชุมพร

  3. 2.กรอบแนวคิด • เพื่อเป็นยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่างประเทศ • เพื่อเหนี่ยวนำพัฒนาการทางเศรษฐกิจในการจัดสรรกระบวนการผลิตและการแปรรูปสินค้า • ส่งเสริมศักยภาพของพื้นที่ ทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ กำลังแรงงาน ความหลากหลายด้านผลิตภัณฑ์เกษตร สู่กระบวนการพัฒนามูลค่า • เน้นบทบาทภาคเอกชนร่วมเสนอโครงการความร่วมมือทางธุรกิจ การค้า การลงทุนและบริการ

  4. 3.ศักยภาพ Economic Profile 2005:ประเทศอินโดนีเซีย จังหวัด GDP/ประชากร(usd) โครงสร้างผลผลิต(%) แรงงาน รวม (1,000) อัตราการ ว่างงาน (%) เกษตร อุตสาหกรรม บริการ อาเจห์ 970 41.0 11.5 10.6 61.8 2.4 บังกาเบอลิตุง 902 25.0 21.3 7.2 209.9 7.1 เบงกูลู 414 32.8 4.9 17.3 713.3 6.3 จัมบี 621 30.2 14.5 16.8 n.a. 6.0 ลัมปุง n.a. n.a. n.a. n.a. n.a. 11.1 สุมาตราเหนือ 822 29.6 21.5 7.78 n.a. n.a. เรียว 1,351 8.7 20.5 3.2 n.a. 15.3

  5. Economic Profile 2005:ประเทศอินโดนีเซีย(ต่อ) จังหวัด GDP/ประชากร(usd) โครงสร้างผลผลิต(%) แรงงาน รวม (1,000) อัตราการ ว่างงาน (%) เกษตร อุตสาหกรรม บริการ เรียวไอซ์แลนด์ n.a. n.a. n.a. n.a. n.a. n.a. สุมาตราใต้ 763 20.7 20.9 6.8 n.a. 8.4 สุมาตราตะวันตก 862 24.4 12.2 16.3 1,196.9 12.8 IMT-GT Indonesia n.a.

  6. Economic Profile 2005:ประเทศมาเลเซีย รัฐ GDP/ประชากร(usd) โครงสร้างผลผลิต(%) แรงงาน รวม (1,000) อัตราการ ว่างงาน (%) เกษตร อุตสาหกรรม บริการ มะละกา 5,115 3.4 11.5 10.6 61.8 2.4 เกดะห์ 2,937 11.8 21.3 7.2 209.9 7.1 กลันตัน 1,974 18.7 4.9 17.3 713.3 6.3 เนอกรีเซมบิลัน 4,522 7.2 14.5 16.8 n.a. 6.0 ปีนัง 7,208 1.7 n.a. n.a. n.a. 11.1 เประ 4,068 12.9 21.5 7.78 n.a. n.a.

  7. Economic Profile 2005:ประเทศมาเลเซีย (ต่อ) รัฐ GDP/ประชากร(usd) โครงสร้างผลผลิต(%) แรงงาน รวม (1,000) อัตราการ ว่างงาน (%) เกษตร อุตสาหกรรม บริการ ปะลิส 3,237 23.7 20.5 3.2 n.a. 15.3 สลังงอร์ 6,140 1.7 20.5 3.2 n.a. 15.3 IMT-GT Malaysia 4,865 5,847 2.9

  8. Economic Profile 2005:ประเทศไทย จังหวัด GDP/ประชากร(usd) โครงสร้างผลผลิต(%) แรงงาน รวม (1,000) อัตราการ ว่างงาน (%) เกษตร อุตสาหกรรม บริการ นราธิวาส 1,048 48.2 5.2 46.6 348.8 1.5 ปัตตานี 1,489 46.8 4.2 49.0 295.8 0.8 ยะลา 1,395.0 39.1 9.3 51.6 210.0 1.3 สงขลา 2,408 25.4 30.8 43.8 744.3 3.8 สตูล 1,832 48.6 13.7 37.7 744.3 3.8

  9. Economic Profile 2005:ประเทศไทย (ต่อ) จังหวัด GDP/ประชากร(usd) โครงสร้างผลผลิต(%) แรงงาน รวม (1,000) อัตราการ ว่างงาน (%) เกษตร อุตสาหกรรม บริการ นครศรีธรรมราช 1,517 27.6 12.9 59.5 907.6 1.7 พัทลุง 1,109 32.7 31.4 35.9 136.3 2.1 ตรัง 1,723.0 45.6 14.2 40.2 342.2 0.4 กระบี่* 2,217.8 41.8 4.8 53.4 n.a. n.a. พังงา* 2,677.5 54.5 6.0 39.6 n.a. n.a.

  10. Economic Profile 2005:ประเทศไทย (ต่อ) จังหวัด GDP/ประชากร(usd) โครงสร้างผลผลิต(%) แรงงาน รวม (1,000) อัตราการ ว่างงาน (%) เกษตร อุตสาหกรรม บริการ ภูเก็ต* 3,519.1 48.8 8.3 42.9 n.a. n.a. สุราษฎร์ธานี* 1,138.4 31.1 18.6 50.3 n.a. n.a. ชุมพร* 1,057.7 39.3 10.8 49.9 n.a. n.a. ระนอง* 4,297.4 49.0 6.0 45.0 n.a. n.a. IMT-GT ประเทศไทย

  11. 4.ผลงานที่ภาคภูมิใจ • การขยายพื้นที่ • การจัดตั้ง IMT-GT Plaza ขึ้นที่จังหวัดตรัง • การประชุม IMT-GT Summit • การมี Roadmap (2007-2011) • การจัดตั้ง CIMT

  12. 5.เส้นทางสู่การพัฒนา ปี 2007-2011 • การปรับทิศทางดำเนินการ • ปรับทิศทางครั้งแรกโดยข้อเสนอของไทยในปี พ.ศ. 2543 • ปรับขอบเขตความร่วมมือตามกรอบ IMT-GTเป็น 6 รูปแบบ • การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน • การค้าและการพัฒนาจากจุดแรกเริ่ม(ที่ริเริ่มโครงการโดยแต่ละฝ่ายมาบรรจบกัน) • การพัฒนาตลาดเสรี โดยระยะแรกมุ่งเน้นการเปิดเสรีด้านโทรคมนาคม • การพัฒนารายสาขา โดยระยะแรกมุ่งเน้นด้านการท่องเที่ยว • การพัฒนาสหสาขา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • การพัฒนาพื้นที่นอกเขตเมืองและการค้าระหว่างพื้นที่

  13. การปรับทิศทางดำเนินการ เพื่อให้สอดคล้อง • ปรับทิศทางครั้งล่าสุด พ.ศ. 2549 • ปรับเปลี่ยนขอบเขตความร่วมมือใหม่เป็น 6 คณะทำงาน • การค้าและการลงทุน • การการเกษตร อุตสาหกรรมการเกษตรและสิ่งแวดล้อม • การการท่องเที่ยว • การการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการคมนาคม • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • ผลิตภัณฑ์และบริหารฮาลาล

  14. การพัฒนาเชิงพื้นที่ • แนวพื้นที่เชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ 5 แนวทาง

  15. 6.การเสริมของ ASEAN Economic Community: AEC • ASEAN Economic Community: AEC • จะรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจภายในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) • จะเป็นตลาดที่มีฐานการผลิตร่วมกัน (Single market and single production base) โดยจะให้มีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีทางด้าน: • สินค้า (Goods) • บริการ (Services) • การลงทุน (Investment) • เงินทุน (Capital) • แรงงานมีฝีมือ (Skilled labours)

  16. ผลของ ASEAN Economic Community: AEC • ผู้ให้บริการ ASEAN และ IMT-GT สามารถให้บริการข้ามพรมแดนเข้ามา ในประเทศ ASEAN ต่างๆได้โดยไม่มีข้อจำกัด (บางสาขาบริการที่จำเป็น ต้องมีเงื่อนไขด้านกฎระเบียบบางประการก็อาจสามารถสงวนไว้ได้) • บุคลากร ASEAN และ IMT-GT ที่มีฝีมือประเภทต่างๆ สามารถเข้ามาทำงานและพำนักได้สะดวกมากขึ้น • นักวิชาชีพ ASEAN อาจเข้ามาทำงานในไทยสะดวกขึ้นโดยผ่านความตกลง

  17. ผลของ ASEAN Economic Community: AEC • นักลงทุน ASEAN และ IMT-GT สามารถเข้ามาจัดตั้งธุรกิจในประเทศASEAN ทุกประเทศโดยถือหุ้นข้างมากได้ โดยไทยจะต้องทยอยเปิดให้ นักลงทุน ASEAN ถือหุ้นในธุรกิจบริการต่างๆได้ถึง 70% ในปี 2010 สำหรับ Priority sectors และ ปี 2015 สำหรับ Other sectors ทั้งนี้ • สมาชิกยังสามารถใช้กฎระเบียบในการกำกับดูแลธุรกิจบริการได้อยู่ โดยไม่เลือกปฏิบัติว่าเป็นธุรกิจของต่างชาติหรือของคนไทย • อาจขอสงวน (ในจำนวนที่จำกัด) ไม่เปิดตลาดในบางสาขา/กิจกรรมบริการตามแนวทางที่อาเซียนกำหนดได้

  18. 7.การโยงใยกับกลุ่ม เศรษฐกิจในภูมิภาคอื่น Local Link + Global Reach WTO, FTA, RTA, APEC Prosper Thy Neighbors GMS, ACMECS, IMT-GT, BIMSTEC Asia for Asia ASEAN, ASEAN+3, EAS, ACD ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)

  19. EU ACD ASEM GMS ACMECS NAFTA ASEAN Community (APSC, AEC, ASCC) APEC BIMSTEC WTO IMT- GT Korea Japan PRC India FTAs e.g. Japan, China, Australia, New Zealand, Bahrain, Peru, India, USA, BIMSTEC etc… ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)

  20. Southeast Asia’s Pop. = 555 mill. in 2006 -> 700 mill. expected in 2030 GNI accounts for 785 bill.USD in 2006 -> could attain 2,465 bill.USD in 2030 Korea China Afganistan Japan Pakistan Bangladesh USA India Middle East Europe Africa Myanmar Laos South China Sea Thailand Vietnam Philippines Bay of Bengal Cambodia Market Potentials: • 312 millions of pop. in GMS • 67.5 millions of pop. in IMT-GT • 2,400 millions in PR China + India Gulf of Thailand Sri Lanka Malaysia Brunei Singapore Indonesia ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)

  21. ขอขอบคุณ

More Related