1 / 55

ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พัสดุ

ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พัสดุ. เชิดชัย มีคำ. ขอบเขตการนำเสนอ. หลักสาระสำคัญของกฎหมายว่าด้วยความรับผิด ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ กรณีศึกษา. กฎหมายและระเบียบ. 1 .พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 2. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยความรับผิดทางละเมิด

Download Presentation

ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พัสดุ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พัสดุความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พัสดุ เชิดชัย มีคำ

  2. ขอบเขตการนำเสนอ • หลักสาระสำคัญของกฎหมายว่าด้วยความรับผิด ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ • กรณีศึกษา

  3. กฎหมายและระเบียบ 1.พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 2. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 3. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 4. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการ ทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 5.หนังสือเวียนแนวทางปฏิบัติ

  4. กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ หลัก หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผู้เสียหาย ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐกระทำละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่ ข้อยกเว้น หน่วยงานของรัฐไม่ต้องรับผิดต่อผู้เสียหาย ถ้าการกระทำละเมิดของเจ้าหน้าที่มิใช่การกระทำในการปฏิบัติหน้าที่

  5. กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ สิทธิไล่เบี้ย หน่วยงานของรัฐได้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหายไปแล้ว มีสิทธิเรียกร้องจากเจ้าหน้าที่ได้ หากเจ้าหน้าที่กระทำไปด้วยความจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

  6. กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่จะต้องรับผิดทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหน้าที่เฉพาะเมื่อเป็นการกระทำเพื่อการเฉพาะตัว หรือจงใจให้เกิดความเสียหายหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง เจ้าหน้าที่จะต้องรับผิดทางละเมิดตาม ปพพ. ในความผิดของตน หากไม่ใช่เป็นการปฏิบัติงานในหน้าที่

  7. ละเมิด • องค์ประกอบ • จงใจหรือประมาทเลินเล่อ • กระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย • ทำให้บุคคลอื่นได้รับความสียหาย

  8. กค 0406.7/ว 56 ลว 12 ก.ย.2550 แนวทางการสอบสวน 1.ทุจริตด้านการเงินหรือทรัพย์สิน 2.ไม่ปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ 3.คนร้ายทำการโจรกรรมหรือทรัพย์สินสูญหาย 4.อาคารสถานที่ถูกเพลิงไหม้ 5.อุบัติเหตุ

  9. แนวทางการสอบสวน • กฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง • ความเห็น สตง. หรือเหตุที่ทราบว่าไม่ปฏิบัติตามระเบียบ(ถ้ามี) • ความเห็นหรือผลการดำเนินงานของ ปปช. /ปปง./ผลคดีอาญา (ถ้ามี) • การกำหนดราคากลางงานก่อสร้าง • วิธีการคำนวณ factor F • แหล่งที่มาของวัสดุที่ใช้ในการคำนวณ • ราคาวัสดุแยกตามประเภทและราคา

  10. การสอบสวน • ไม่ปฏิบัติตามระเบียบ • ขั้นตอนการดำเนินงาน • ผู้ที่เกี่ยวข้อง • เจ้าหน้าที่ • คณะกรรมการ • ผู้มีอำนาจสั่งซื้อสั่งจ้าง • จำนวนเงินที่เสียหาย • บันทึกการให้ปากคำของผู้ที่เกี่ยวข้อง

  11. กค 0406.2/ว 75 ลว 30 ต.ค. 2550 กำหนดแนวทางการสอบสวนข้อเท็จจริง 1.แต่งตั้งคณะกรมการสอบข้อเท็จจริง ใน 15 วัน สอบให้เสร็จใน 60 วัน ไม่เสร็จขยายได้ครั้งละ 30 วัน 2.ผู้แต่งตั้งต้องสั่งการให้เสร็จใน 15 วันและสำเนาส่งกระทรวงการคลัง ใน 7 วัน 3.ต้องให้ผู้ที่เกี่ยวข้องชี้แจงข้อเท็จจริงให้เพียงพอและเป็นธรรม

  12. ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ • หัวหน้าส่วนราชการ • ปลัดกระทรวง • รัฐมนตรีเจ้าสังกัด • ผู้รับมอบอำนาจ ผู้มีอำนาจอนุมัติ หัวหน้าส่วนราชการ • อธิบดี • ผู้ว่าราชการจังหวัด • ผู้รับมอบอำนาจ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ • ดำรงตำแหน่ง • แต่งตั้ง เจ้าหน้าที่พัสดุ

  13. กค.0406.2 /ว 66 ลว 25 ก.ย. 2550สัดส่วนความรับผิดทางละเมิด

  14. กำหนดราคากลางสูงกว่าความเป็นจริงกำหนดราคากลางสูงกว่าความเป็นจริง • ใช้ค่าfactor f / ราคาวัสดุไม่ถูกต้อง • 70 : 15 : 10 : 5 • กก.กำหนดราคากลาง : ฝ่ายพัสดุ : ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ • 70 : 20 : 10 (ไม่ผ่านฝ่ายพัสดุ) • กก.กำหนดราคากลาง : ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ • 70 : 30 (ไม่ผ่านฝ่ายพัสดุ - ผบ.ผู้ผ่านงาน) • กก.กำหนดราคากลาง : ผู้อนุมัติ • คำนวณปริมาณงานผิดพลาด • 100 • กก.กำหนดราคากลาง

  15. ปัญหาที่พบ • มิได้แยกครุภัณฑ์ที่จัดซื้อ • ราคาวัสดุก่อสร้างไม่ตามกระทรวงพาณิชย์ • คิดค่าใช้จ่ายดำเนินการที่รวมใน Factor F แล้ว ซ้ำ • คิด Factor F ไม่ถูกต้อง • ใช้เกณฑ์คำนวณผิดประเภท • ไม่แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง • ถอดแบบไม่ถูกต้อง / ซ้ำซ้อน • ไม่ชี้แจงความจำเป็น รายละเอียดของค่าใช้จ่ายที่จำเป็นต้องมี

  16. ราคากลางงานก่อสร้าง • ค่างานต้นทุน (Direct Cost)คำนวณรวมกับค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานก่อสร้าง (Indirect Cost)ซึ่งได้จัดทำไว้ในรูปของตาราง Factor F และค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นๆที่จำเป็นต้องมี • กรณีของงานก่อสร้างอาคาร • ราคากลาง = (ค่างานต้นทุน × Factor F)+ผลรวมค่าครุภัณฑ์สั่งซื้อหรือจัดซื้อ(รวมค่าภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) +ค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นๆ • ทาง สะพาน ท่อเหลี่ยม และชลประทาน • ราคากลาง = (ค่างานต้นทุนของแต่ละรายการก่อสร้าง × Factor F ) • ทาง สะพาน และท่อเหลี่ยม ที่มีค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดฯ • ราคากลาง = (ค่างานต้นทุนของแต่ละรายการก่อสร้าง × Factor F ซึ่งคำนวณรวมค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดฯ ไว้แล้ว)

  17. วิธีการจัดซื้อจัดจ้างไม่ถูกต้อง : ราคาแพง 60: 20 : 10 :10 คกก.พิจารณาผล : (ผ่าน) ฝ่ายพัสดุ: ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ (ไม่ผ่านฝ่ายพัสดุ ) 60: 20 : 20 คกก.พิจารณาผล : ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ ไม่ผ่านฝ่ายพัสดุ และผบ.ผู้ผ่านงาน 60: 40 คกก.พิจารณาผล : : ผู้อนุมัติ

  18. ไม่คัดเลือกต่ำสุดที่ถูกต้องตามเงื่อนไข 60:15:15:10 คกก.เปิดซองสอบราคา : ฝ่ายพัสดุ : ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ 60:15:15:10 คกก.พิจารณาผลการประกวดราคา : ฝ่ายพัสดุ: ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ 60 : 40 คกก.พิจารณาผลการประกวดราคา: ผู้อนุมัติ กรณีที่ จนท.ฝ่ายพัสดุ ผู้ผ่านงานทักท้วงแล้ว แต่ผู้บังคับบัญชา ใช้อำนาจสั่งอนุมัติ จนท.ฝ่ายพัสดุ ผู้ผ่านงานไม่ต้องรับผิด

  19. ขั้นตอนการพิจารณาคัดเลือกผู้เสนอราคาขั้นตอนการพิจารณาคัดเลือกผู้เสนอราคา ตรวจสอบความถูกต้อง คุณสมบัติผู้เสนอราคา ใบเสนอราคา เอกสารหลักฐานต่าง ๆ ตัวอย่าง แบบรูปรายการละเอียด • คัดเลือก • พัสดุ / งานจ้าง • คุณภาพ / คุณสมบัติประโยชน์ต่อทางราชการ เสนอราคา - ต่ำสุด

  20. การตรวจการจ้างไม่เป็นไปตามรูปแบบรายการการตรวจการจ้างไม่เป็นไปตามรูปแบบรายการ ผู้บังคับบัญชาควรรู้ 30 : 50 : 10 : 10 คกก.ตรวจการจ้าง : ผู้ควบคุมงาน : ผบ.ผู้ผ่านงาน :ผู้อนุมัติ ผู้บังคับบัญชาไม่รู้ 40 : 60 กก.ตรวจการจ้าง : ผู้ควบคุมงาน

  21. การตรวจรับพัสดุไม่ถูกต้องการตรวจรับพัสดุไม่ถูกต้อง 60 : 20 : 10 : 10 คกก.ตรวจรับพัสดุ : ฝ่ายพัสดุ: ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ 100 คกก.ตรวจรับพัสดุ (กรณี จนท.ฝ่ายพัสดุ / ผู้บังคับบัญชาไม่น่าจะรู้ว่าการส่งของ ไม่ตรงตามสัญญา ไม่ต้องรับผิด)

  22. การตรวจรับพัสดุและการตรวจการจ้างการตรวจรับพัสดุและการตรวจการจ้าง

  23. การตรวจรับพัสดุ เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการ ตรวจรับสิ่งของให้ถูกต้องครบถ้วนตามสัญญา มติคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ต้องเอกฉันท์ รายงานหัวหน้าส่วนราชการ บางคนไม่ยอมรับ ให้ทำความเห็นแย้ง เสนอ หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ สั่งให้รับ ถือว่าถูกต้องครบถ้วน จึงให้รับไว้แล้วมอบให้เจ้าหน้าที่พัสดุ ออกใบตรวจรับ

  24. การตรวจรับพัสดุ สถานที่ตรวจรับ ที่ทำการของผู้ใช้พัสดุ สถานที่ซึ่งกำหนดไว้ในสัญญา สถานที่อื่นที่ได้รับอนุมัติจากหัวหน้าส่วนราชการ

  25. ผู้ควบคุมงาน ตรวจตามแบบรูป รายการละเอียดและข้อกำหนดในสัญญา ทุกประการ ควบคุมงาน ณ สถานที่ที่กำหนดทุกวัน จดบันทึกสภาพการปฏิบัติงาน รายงานผลการปฏิบัติงานให้คณะกรรมการตรวจการจ้างใน 3 วันนับแต่วันส่งงาน สั่งพักงาน แบบรูป รายการละเอียดหรือข้อกำหนดในสัญญาขัดกัน หากไม่มั่นคงแข็งแรงหรือไม่เป็นไปตามหลักวิชาช่างหรือไม่ปลอดภัย

  26. การตรวจการจ้าง เป็นหน้าที่คณะกรรมการ ตรวจงานที่ผู้รับจ้างได้ส่งมอบให้ถูกต้องครบถ้วนเป็นไปตามแบบรูป รายการละเอียดและข้อกำหนดในสัญญา หากไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน หรือไม่เป็นไปตามแบบรูปรายการละเอียดและหรือข้อกำหนดในสัญญา ..... รับไม่ได้

  27. การตรวจการจ้าง (ต่อ) หากมีความจำเป็นต้องแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาหรือข้อตกลง ตามหลักเกณฑ์ข้อ 136 โดยไม่ทำให้ ทางราชการเสียประโยชน์หรือเพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ ต้องดำเนินการ ก่อนตรวจรับ

  28. การตรวจการจ้าง (ต่อ) การตรวจรับที่ถูกต้องและสมบูรณ์.....หัวหน้าส่วนราชการได้รับทราบหรือเห็นชอบแล้ว การตรวจรับที่สมบูรณ์แล้ว .....ยกเลิกไม่ได้

  29. การตรวจการจ้าง (ต่อ) การตรวจรับไม่ถูกต้องตามรูปแบบ รายการละเอียด ที่กำหนด ถือว่าไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ส่วนราชการจะต้องรับผิดชอบ หากเป็นการทุจริตจะต้องรับผิดชอบร่วมกันระหว่างส่วนราชการและผู้รับจ้าง

  30. ระยะเวลาการตรวจการจ้างงานก่อสร้างและตรวจรับพัสดุ( นร 1305 / ว 5855 ลว 11 กรกฎาคม 2544)

  31. ระยะเวลาตรวจการจ้างงานก่อสร้าง : แบบราคาเหมารวมทุกราคาค่างาน ผู้ควบคุมงาน งวดงาน 3 วัน งวดสุดท้าย 3 วัน คณะกรรมการตรวจการจ้าง งวดงาน 3 วัน ตรวจรับงาน 5 วัน

  32. ระยะเวลาตรวจการจ้างงานก่อสร้าง : แบบราคาต่อหน่วยราคาค่างานไม่เกิน 30 ล้านบาท ผู้ควบคุมงาน รายงวด 4 วัน ครั้งสุดท้าย 8 วัน คณะกรรมการตรวจการจ้าง รายงวด 3 วัน ตรวจรับงาน 5 วัน

  33. ระยะเวลาตรวจการจ้างงานก่อสร้าง : แบบราคาต่อหน่วยราคาค่างานไม่เกิน 60 ล้านบาท ผู้ควบคุมงาน รายงวด 8 วัน ครั้งสุดท้าย 12 วัน คณะกรรมการตรวจการจ้าง รายงวด 3 วัน ตรวจรับงาน 5 วัน

  34. ระยะเวลาตรวจการจ้างงานก่อสร้าง : แบบราคาต่อหน่วยราคาค่างานไม่เกิน 100 ล้านบาท ผู้ควบคุมงาน รายงวด 12 วัน ครั้งสุดท้าย 16 วัน คณะกรรมการตรวจการจ้าง รายงวด 3 วัน ตรวจรับงาน 5 วัน

  35. ระยะเวลาตรวจการจ้างงานก่อสร้าง : แบบราคาต่อหน่วยราคาค่างานเกิน 100 ล้านบาทขึ้นไป ผู้ควบคุมงาน รายงวด 16 วัน ครั้งสุดท้าย 20 วัน คณะกรรมการตรวจการจ้าง รายงวด 3 วัน ตรวจรับงาน 5 วัน

  36. ระยะเวลาการตรวจรับพัสดุระยะเวลาการตรวจรับพัสดุ ตรวจรับในวันที่คู่สัญญานำพัสดุมาส่งมอบ และให้ดำเนินการให้เสร็จโดยเร็วที่สุดอย่างช้าไม่เกิน 5 วันทำการนับแต่วันที่คู่สัญญานำพัสดุมาส่งมอบ ยกเว้น การตรวจทดลอง ตรวจสอบในทางเทคนิค ทางวิทยาศาสตร์ ให้รายงานหัวหน้าส่วนราชการพร้อมด้วยเหตุผล ความจำเป็นพร้อมกับสำเนาแจ้งให้คู่สัญญาทราบ ( นร 1305 / ว 5855 ลว 11 กรกฎาคม 2544)

  37. การจ่ายเงินก่อนมีการตรวจรับทรัพย์สินหรือตรวจรับงานว 106 ลว 20 ก.ค.2548 และ ว 401 ลว 10 ต.ค. 2548 ส่งมอบงานตามงวด ขอรับเงินก่อนมีการตรวจรับ เบิกจ่ายไปก่อนโดยยังไม่ต้องตรวจรับ จ่ายใน 3 วัน คู่สัญญา กรอกข้อความและลงลายมือชื่อในแบบสัญญา มีหนังสือค้ำประกันของธนาคารในประเทศ เมื่อรับงานถูกต้องแล้ว คืนหนังสือค้ำประกัน

  38. ค่าตอบแทนคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจการจ้าง 350 บาท / คน / วัน ผู้ควบคุมงาน หัวหน้า 350 บาท / คน / วัน ผู้ควบคุม 300 บาท / คน / วัน คนนอกเพิ่มหนึ่งเท่า ( กค 0406.4 / ว 18 ลว 27ก.พ. 2551)

  39. ไม่เรียกค่าปรับ 70 : 10 : 10 : 10 คกก.ตรวจรับพัสดุ / ตรวจการจ้าง : ฝ่ายพัสดุ: ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ 100 คกก.ตรวจรับพัสดุ / ตรวจการจ้าง (กรณี จนท.ฝ่ายพัสดุ / ผู้บังคับบัญชาไม่ทราบข้อเท็จจริง ว่าการส่งมอบงาน / ของ ล่าช้า ไม่ต้องรับผิด)

  40. การปรับ ไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญาได้ ต้องมีการปรับ พิจารณาตามเงื่อนไขที่กำหนดในสัญญา

  41. กรณีศึกษา

  42. ซื้อแพง • ข้อเท็จจริง คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา ไม่เสนอจัดซื้อพัสดุจากผู้เสนอราคารายต่ำสุดโดย ไม่มีเหตุผล แต่อ้างว่ายึดถือประโยชน์ของทางราชการเป็นสำคัญทำให้ทางราชการเสียหาย คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด เห็นว่า คกก.ไม่ได้กระทำโดยจงใจที่จะทำให้ทางราชการได้รับความเสียหาย โดยประสงค์จะให้หน่วยงานได้รับประโยชน์พัสดุอย่างเต็มที่ จึงไม่เป็นละเมิดต่อทางราชการ และข้อเท็จจริงยังฟังไม่ได้ว่ามีบุคคลใดกระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง จึงไม่ควรต้องมีผู้รับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน

  43. ซื้อแพง • ข้อเท็จจริงจากสำนวนสอบสวน 1. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ 2. ชุดมัลติมิเดีย 3.โปรแกรมการออกแบบด้านสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม ทั้ง 3 รายการมีผู้เสนอราคา 13 ราย คกก. เสนอซื้อลำดับที่ 13 ด้วยเหตุผล รายที่ 1-12 ผิดเงื่อนไขในเอกสาร สอบราคา โดยขาดคุณสมบัติลักษณะเฉพาะของครุภัณฑ์ในรายละเอียดทั่วไปและรายละเอียด ทางเทคนิค ซึ่งถือว่าเป็นสาระสำคัญ

  44. ซื้อแพง • เครื่องแสกนเนอร์และเครื่องสำรองไฟ • ผู้เสนอราคารายต่ำสุดผิดเงื่อนไขในข้อกำหนดคุณสมบัติเฉพาะครุภัณฑ์ในรายละเอียดทั่วไป โดยไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์จากสถาบันในประเทศสหรัฐอเมริกาหรือกลุ่มประเทศในยุโรป

  45. ซื้อแพง • โต๊ะวางเครื่องพิมพ์ • ต่ำสุด 1,700 บาท เสนอให้ซื้อลำดับที่ 7 ราคา 2,600 บาท • เหตุผลที่รางเลื่อนคีย์บอร์ดใช้ลูกปืนทำให้เกิดการลื่นไหลและเงียบกว่ารางเลื่อนแบบลูกล้อทั่วไป ขอบโต๊ะโค้งมน ปิดด้วยคิ้ว PVC มีความหนากว่า เป็นมาตรฐานในการผลิตเฟอร์นิเจอร์แบบคุณภาพชั้นสูง ป้องกันความเสียหายจากการกระแทกด้านข้างและป้องกันเป็นมาตรฐานในการผลิตเฟอร์นิเจอร์แบบคุณภาพชั้นสูงป้องกันความเสียหายจากการกระแทกด้านข้างและป้องกันความชื้นที่จะทำให้ขอบไม้ไม่โป่งพองมีอายุการใช้งานยาวนานกว่า

  46. ซื้อแพง • เก้าอี้ • ต่ำสุด 800 บาท เสนอให้ซื้อ ราคา 1,200 บาท • เหตุผลเก้าอี้มีพนักพิงยาวรองรับได้เต็มแผ่นหลังและมีพนักแขน

  47. ซื้อแพง • กรมบัญชีกลาง เห็นว่า คณะกรรมการเปิดซองสอบราคาได้ใช้ดุลพินิจดำเนินการตามอำนาจหน้าที่เพื่อประโยชน์แก่ ทางราชการ ตามพฤติการณ์ถือได้ว่าไม่เกิดความเสียหายแก่ทางราชการ จึงไม่มีเจ้าหน้าที่ผู้ใดต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ทางราชการ

  48. จ้างแพง • ข้อเท็จจริง • คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา เห็นว่า ผู้เสนอราคาต่ำสุดไม่กรอกรายการในบัญชีรายการก่อสร้างให้ครบถ้วน ซึ่งเป็นการไม่ปฏิบัติตามเอกสารสอบราคาจ้าง อันเป็นสาระสำคัญจึงไม่พิจารณา และพิจารณาให้ ผู้ที่เสนอราคาสูงกว่าเป็นผู้สอบราคาได้ • สตง. เห็นว่า ข้อผิดพลาดดังกล่าวไม่ใช่สาระสำคัญอันจะทำให้ทางราชการเสียประโยชน์ การกระทำของคณะกรรมการเปิดซองสอบราคาเป็นการไม่ปฏิบัติตามระเบียบข้อ 50(1) เป็นให้ทางราชการต้องจ่ายค่าก่อสร้างสูง

  49. จ้างแพง • กรมบัญชีกลาง เห็นว่า คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา พิจารณาจากหลักเกณฑ์ตามประกาศของทางราชการเป็นหลักในการพิจารณา เมื่อเอกสารของทางราชการได้เน้นย้ำรายการแบบบัญชีรายการก่อสร้างไว้หลายแห่ง คณะกรรมการจึงเห็นเป็นเรื่องสำคัญ โดยไม่ได้พิจารณาถึงระเบียบและหนังสือตอบข้อหารือเกี่ยวกัลบการเสนอราคาการก่อสร้าง เป็นเหตุให้ใช้ดุลพินิจคลาดเคลื่อน พฤติการณ์ดังกล่าวถือได้ว่า คณะกรรมการเปิดซองสอบราคาปฏิบัติหน้าที่ด้วยความประมาทเลินเล่อ แต่ไม่ถึงระดับประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง จึงไม่ต้งอรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ทางราชการ

  50. การกำหนดราคากลาง • งานก่อสร้างหน่วยงานจะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการ เพื่อคำนวณราคากลาง ตามนัยมติคณะรัฐมนตรี • ในการคำนวณราคากลางจะต้องยึดถือระเบียบของ ทางราชการเป็นสำคัญ • ในกรณีที่ไม่ใช้ระเบียบของทางราชการ หากผิดพลาด ถือว่าประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ทางราชการ

More Related