1 / 22

แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุ

แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุ. ธัญญ ลักษณ์ พรรณ ประสาทน์. 17 เมษายน 255 7. ดีดดีดี. เฒ่าๆ...ตำบล ของเฮา กำลังมีการ... “พัฒนาเป็นตำบลต้นแบบ LTC ” … In trend หลายตั้ว. ดีดดีดี. ดี ดี... หมู่เฮา ซิ ได๊ อยู่ดี มี แฮง ...ขอบใจหลายๆ เด้อ. ทำไมต้องผู้สูงอายุ ??. สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย.

Download Presentation

แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุแนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุ ธัญญลักษณ์ พรรณประสาทน์ 17 เมษายน 2557

  2. ดีดดีดี เฒ่าๆ...ตำบลของเฮากำลังมีการ... “พัฒนาเป็นตำบลต้นแบบ LTC” … In trend หลายตั้ว..... ดีดดีดี ดีดี...หมู่เฮาซิได๊ อยู่ดี มีแฮง...ขอบใจหลายๆ เด้อ....

  3. ทำไมต้องผู้สูงอายุ??

  4. สถานการณ์ผู้สูงอายุไทยสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย • ประเทศไทย ปี 2556 มีผู้สูงอายุ ร้อยละ 14.7 • ในปี 2566 จะเพิ่มเป็น ร้อยละ 19.1 และในปี 2576คาดการณ์ว่าจะเพิ่มเป็นร้อยละ 29.6 คืออีก 20 ปีข้างหน้าประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจะมีถึง 19 ล้านคน (30% ของประชากรทั้งหมด) • ผลกระทบของการมีผู้สูงอายุจำนวนมาก •  ความเสี่ยงด้านสุขภาพ  ค่าใช้จ่าย •  อัตราการตาย  ภาวะทุพพลภาพ •  ภาระพึ่งพา  แรงงาน •  เศรษฐกิจ  ที่อยู่อาศัย •  ระบบการดูแลด้านสุขภาพอนามัยและสวัสดิการระยะยาว

  5. สถานการณ์สุขภาพผู้สูงอายุสถานการณ์สุขภาพผู้สูงอายุ โรคมากขึ้น และซับซ้อนขึ้น

  6. อำเภอยางตลาด จำนวนประชากร 139,402 คน จำนวนผู้สูงอายุ 17,077 คน (12.25%) แยกตามประเภท - ประเภท 1 กลุ่มเสี่ยง จำนวน 14,539 คน - ประเภท 2 กลุ่มติดบ้าน จำนวน 3,486 คน - ประเภท 3 กลุ่มติดเตียง จำนวน 210 คน

  7. การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care: LTC) นิยาม : การดูแลที่ครอบคลุมทุกมิติทั้งสังคมสุขภาพเศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม สำหรับผู้สูงอายุที่ประสบภาวะยากลำบาก อันเนื่องมาจากการเจ็บป่วยเรื้อรัง หรือพิการทุพพลภาพช่วยเหลือตนเองได้บางส่วน หรือไม่สามารถช่วยตนเองในชีวิตประจำวันได้ โดยผู้ดูแลเป็นบุคลากรด้าน สุขภาพและสังคม และผู้ดูแลไม่เป็นทางการ (ครอบครัว ) รวมถึงการบริการใน ชุมชน หรือสถานบริการเพื่อให้ผู้สูงอายุอยู่ในสังคมได้ โดยมีคุณภาพชีวิตดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยคำนึงถึงความเป็นตัวของตัวเอง ความเป็นอิสระ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

  8. การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care: LTC) วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุทั้งในสถานบริการและในชุมชน 2. เพื่อพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศและวิชาการด้านการดูแลรักษา ผู้สูงอายุอย่างเป็นรูปธรรม 3.เพื่อพัฒนาระบบดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและป่วยเรื้อรัง(ติดเตียง) โดยบุคลากรสส.และทีมดูแลเยี่ยมบ้าน 4. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนเครือข่ายผู้ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุผู้พิการและป่วยเรื้อรัง(ติดเตียง) 5. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว

  9. การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care: LTC) เป้าหมายการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว : 1. ดูแลสุขภาพตั้งแต่ยังมีสุขภาพดี  และยืดระยะเวลาของการมีสุขภาพดีให้ยาวนานที่สุด 2. ส่งเสริมการรวมกลุ่มผู้สูงอายุ/ชมรมผู้สูงอายุและพัฒนาศักยภาพชมรมให้เข้มแข็ง สามารถดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 3. ส่งเสริมดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรัง มีภาวะทุพพลภาพ ให้หายหรือทุเลาจากการเจ็บป่วย  4.จัดกิจกรรมเพื่อลดความพิการหรือทุพพลภาพ

  10. ด้านการบริหารจัดการ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.1 คณะกรรมการอำนวยการและคณะทำงาน 1.2 คณะทำงานด้านต่างๆ ประกอบด้วย ภาคส่วน ภาคี เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง 1.3 คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน ต้องลงนาม โดย นายอำเภอ 2. ประชุมคณะทำงาน 2.1 ชี้แจงรายละเอียดโครงการ 2.2 ประเมินมาตรฐานตามเกณฑ์ด้านต่างๆ 2.3 วิเคราะห์ ปัญหา/ส่วนขาด และจัดทำแผนแก้ไขร่วมกัน 3. ดำเนินการตามแผนของแต่ละคณะทำงาน 4. ติดตามผลการดำเนินงาน 5. สรุปผลงาน และวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น

  11. องค์ประกอบการดำเนินงานตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวองค์ประกอบการดำเนินงานตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ๑. มีข้อมูลผู้สูงอายุตามกลุ่มศักยภาพตามความสามารถในการประกอบกิจวัตร ประจำวัน ( Barthel Activities of Daily Living : ADL ) ๒. มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ ๓. มีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ๔. มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ (Home Health Care) โดยบุคลากรสาธารณสุข ๕. มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล ๖. มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มที่ ๒ (ติดบ้าน) และผู้สูงอายุ กลุ่มที่ ๓ (ติดเตียง) ๗. มีวัดส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐานขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๐ ๘. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน

  12. ด้านการดำเนินการ ข้อมูลทั่วไปของผู้สูงอายุ 1. สำรวจสภาวะสุขภาพ 2. ประเมินเข่าเสื่อม 3. ประเมินภาวะเครียด 4. ประเมินDM., HT. 5. ประเมิน ADL 6.ภาวะสุขภาพฟัน

  13. ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 1. คณะทำงานพัฒนาชมรมผู้สูงอายุ ประเมินเบื้องต้น วิเคราะห์ส่วนขาด จัดทำแผน 2. ข้อมูลทั่วไป นโยบาย อุดมการณ์ สถานที่ตั้ง 3. กรรมการ ประกาศแต่งตั้ง โครงสร้าง การประชุม 4. กฎ กติกา ระเบียบข้อบังคับ การตรวจสอบด้านการเงิน 5. ระดมทุน 6. กิจกรรมของชมรมที่ต้องดำเนินการ

  14. อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชนอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน 1. แต่งตั้งคณะทำงาน 2. แยกประเภทผู้สูงอายุที่ต้องดูแล กลุ่มติดบ้าน ติดเตียง 3. การอบรมผู้ดูแล หลักสูตรทั่วไป หลักสูตรเฉพาะโรค 4. ตารางการปฏิบัติงานของผู้ดูแล 5. การรายงานผลการปฏิบัติงานและความก้าวหน้าในการดูแล 6. สรุปผลการดำเนินงานและวิเคราะห์ปัญหา

  15. บริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ(Home Health Care) ที่มีคุณภาพ โดยบุคลากรสาธารณสุข 1. แต่งตั้งคณะทำงาน 2. มีรายชื่อผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง แยกประเภทความเจ็บป่วย 3. แผนการ HHCในผู้สูงอายุแต่ละคน/การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา ที่มีประสิทธิภาพ 4. มีระบบส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ 5. ผลการ HHC /ผู้ป่วย/ความก้าวหน้าอาการผู้สูงอายุแต่ละครั้ง 6. สรุปผลการดำเนินงาน

  16. บริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพ บริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพ ด้านบริหารจัดการ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ • การจัดกิจกรรม อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง • การจัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก • มีการเรียนรู้ในชมรมผู้สูงอายุ • ข้อมูลสุขภาพช่องปากที่ทันสมัย • การเป็นแหล่งศึกษา/ดูงาน/เรียนรู้ ด้านบริการ • ตรวจสุขภาพช่องปากและให้คำแนะนำ หรือตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยง • ฝึกทักษะในการควบคุมคราบจุลินทรีย์ • การใช้ฟลูออไรด์วานิชป้องกันหรือยับยั้งรากฟันผุ • ขูด ขัด ทำความสะอาดฟัน ป้องกันปริทันต์อักเสบ

  17. ระบบการดูแลผู้สูงอายุ 2 กลุ่มกลุ่ม ติดบ้าน/ กลุ่ม ติดเตียง • องค์ประกอบข้อ 3 • อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน • องค์ประกอบข้อ 4 • บริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน(Home Health Care) ที่มีคุณภาพ โดยบุคลากรสาธารณสุข

  18. วัดส่งเสริมสุขภาพ ประกอบด้วย 1.สะอาดร่มรื่น • -อาคารสถานที่ - บริเวณ และสภาพแวดล้อมภายในวัด 2.สงบร่มเย็น • -การเทศนา ปฏิบัติธรรม ทำบุญ - กิจกรรมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ 3. สุขภาพ ร่วมสร้าง • - กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในวัด 4.ศิลปะร่วมจิต(วิญญาณ) • -ดำรง รักษาสืบสานศิลปะ วัฒนธรรมประเพณีและภูมิปัญญา -กิจกรรมที่เอื้อต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. ชาวประชาร่วมพัฒนา • - มีส่วนรวมในการพัฒนา การบริหาร กรรมการ กฎ ระเบียบ

  19. การบริหารจัดการวัดส่งเสริมสุขภาพการบริหารจัดการวัดส่งเสริมสุขภาพ • มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ • มีการประเมิน • หาส่วนขาด • พัฒนา • สรุปประเมิน

  20. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดำเนินงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ด้านผู้สูงอายุ - มีฐานข้อมูล มีการประชาคม มีการจัดทำแผนงานโครงการ - มีการจัดกิจกรรมหรือสนับสนุนให้เกิดกิจกรรมต่างๆ ด้านครอบครัว - สำรวจปัญหาและความต้องการ การช่วยเหลือ - มีการจัดสวัสดิการ และให้การช่วยเหลือ - จัดหา สนับสนุน อุปกรณ์การดูแล/ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ ด้านอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ - มีการสนับสนุน ทรัพยากรต่างๆ จัดประชุม อบรม เพื่อสร้างและพัฒนาศักยภาพ - มีการจัดเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดูแลผู้สูงอายุในชุมชน - การจัดตั้ง สนับสนุน กองทุน/ออมทรัพย์/ค่าตอบแทน

  21. สวัสดีค่ะ

More Related