1 / 24

ทิศทางการวิจัยของคณะวิทยาการจัดการ ความท้าทายและการพัฒนา

ทิศทางการวิจัยของคณะวิทยาการจัดการ ความท้าทายและการพัฒนา. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อริศร์ เทียนประเสริฐ. สรุปจำนวนโครงการและจำนวนเงินทุกแหล่งทุน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2546-2551. สรุปจำนวนและงบประมาณโครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์ มศก. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2546-2551. ข้อมูลถึงวันที่ 31 มี.ค. 52.

rhys
Download Presentation

ทิศทางการวิจัยของคณะวิทยาการจัดการ ความท้าทายและการพัฒนา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางการวิจัยของคณะวิทยาการจัดการ ความท้าทายและการพัฒนา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อริศร์ เทียนประเสริฐ

  2. สรุปจำนวนโครงการและจำนวนเงินทุกแหล่งทุน ปีงบประมาณ พ.ศ.2546-2551

  3. สรุปจำนวนและงบประมาณโครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์ มศก. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2546-2551 ข้อมูลถึงวันที่ 31 มี.ค. 52

  4. ผลงานวิจัยของประเทศไทยใน5 ปี (2003-2007)ในฐานข้อมูลสากล Scopus • ปี 2550 อุดมศึกษาไทยผลิตผลงานวิจัย คิดเป็น 95% ของผลงานทั้งประเทศ 5,603 5,377 (5%) (6%) 4,475 (12%) 3,648 (12%) 3,034 (16%) 95% 94% 88% 88% 84% หมายเหตุ ผลงานวิจัยของประเทศไทยในแต่ละปี ในฐานข้อมูล Scopus ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2551

  5. ผลงานวิจัยของมหาวิทยาลัยทั้งหมดในประเทศไทยในฐานข้อมูล Scopus ปี 2003--2007 หมายเหตุ ผลงานวิจัยของประเทศไทยในแต่ละปี ในฐานข้อมูล Scopus ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2551

  6. ผลงานวิจัยของมหาวิทยาลัยทั้งหมดในประเทศไทย ปี 2003-2007 ในฐานข้อมูลสากล Scopus ในฐานข้อมูลประเทศไทย TCI

  7. กลุ่มสถาบันอุดมศึกษา กลุ่มที่ 1มหาวิทยาลัยวิจัยหรือมหาวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาเน้นการวิจัย โดยมีพันธกิจเพื่อตอบสนองการแข่งขันของประเทศในระดับนานาชาติ มุ่งโจทย์ให้ประเทศไทยมีตำแหน่งที่ชัดเจนในโลกทั้งด้านวิชาการ การวิจัยการศึกษาและการค้นคว้า

  8. ยุทธศาสตร์ที่ 2 เพื่อสร้างสังคมฐานความรู้ บูรณาการความเชี่ยวชาญทางด้านศิลปวัฒนธรรม สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้มหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นแหล่งทุนทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ

  9. ระบบวิจัยแห่งชาติ

  10. ระบบวิจัยแห่งชาติ • งบประมาณวิจัยในระบบ competitive bidding ระดับองค์กร(ตามกลุ่ม มหาวิทยาลัย) และบุคคล – วิจัยในสาขาที่จำเป็นต่อสังคม โดยไม่ต้องผูกกับการเพิ่มผลผลิตทาง เศรษฐกิจ – พัฒนานักวิจัยรุ่นเยาว์ นักวิจัยรุ่นใหม่ – ทุนประเดิมสำหรับการวิจัยเชิงพาณิชย์ และนวัตกรรมที่มีความเสี่ยง – สนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานการวิจัย – ทุนสมทบ (Matching Fund) ในการลงทุนร่วมกับมหาวิทยาลัยหรือ ภาคเอกชนในกิจกรรมวิจัยบางประเภท

  11. ยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (พ.ศ. 2552)

  12. ทิศทางการพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง กลุ่ม 1 (นครปฐม ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี ) • สู่พัฒนาการผลิตและส่งออกสินค้าเกษตรอุตสาหกรรมด้วยระบบการผลิตที่ปลอดภัย ต่อสิ่งแวดล้อม • จัดตั้งศูนย์เครือข่ายการศึกษาขั้นอุดมศึกษา และสนับสนุนสถาบันการศึกษาพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการผลิตสินค้าเกษตรกรรมที่ปลอดภัย • ส่งเสริมการท่องเที่ยวชิงนิเวศ และพัฒนาการท่องเที่ยวในรูปแบบใหม่ รวมทั้งพัฒนาการท่องเที่ยวเชื่อมโยงกับสหภาพพม่า • ส่งเสริมการศึกษาเพื่อจัดตั้งศูนย์อุตสาหกรรมและศูนย์รองรับการกระจายสินค้าบริเวณชายแดน และพัฒนาเส้นทางเชื่อมโยงกับสหภาพพม่า เพื่อเปิดประตูการค้าอันดามัน

  13. ทิศทางการพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง กลุ่ม 2 ( เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ) • สนับสนุนการศึกษาวิจัย การจัดตั้งศูนย์ประมงครบวงจรและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ในจังหวัดสมุทรสาคร • ส่งเสริมงานวิจัยพัฒนาการแปรรูปผลผลิตทางเกษตรและสัตว์น้ำ • สนับสนุนการขยายการก่อสร้างท่าเรือน้ำลึกที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และการเปิดเส้นทางการค้ากับสหภาพพม่า • สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการใช้และพัฒนาพื้นที่ร่วมกันระหว่างผู้ประกอบการและชุมชน และเร่งแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง • พัฒนาการท่องเที่ยววิถีชีวิตและพัฒนาการท่องเที่ยวชายฝั่งทะเลอ่าวไทยตะวันออก- ตะวันตก และพัฒนาเครือข่ายการท่องเที่ยวเชื่อมโยงสหภาพพม่า

  14. ตลาดแรงงานในอนาคตและนัยยะต่ออุดมศึกษาตลาดแรงงานในอนาคตและนัยยะต่ออุดมศึกษา • อุดมศึกษาต้องเพิ่มความรู้และทักษะให้ประชากรที่มีการศึกษาน้อยและ ออกจากภาคเกษตร ก่อนเข้าสู่ภาคบริการและภาคการผลิต • เน้นภาคบริการซึ่งจะเป็นหลักเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ

  15. การกระจายอำนาจการปกครองการกระจายอำนาจการปกครอง • แนวทางการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) - การถ่ายโอนภารกิจ - การกระจายอำนาจการเงิน - การถ่ายโอนบุคลากร - การพัฒนาระบบตรวจสอบ และการมีส่วนร่วมของประชาชน - การปรับปรุงการบริหารจัดการ อปท. - การปรับปรุงกฎหมายและระเบียบให้สอดคล้องกับการถ่ายโอนภารกิจ - กลไกการกำกับดูแลการถ่ายโอนภารกิจ - การสร้างระบบประกันคุณภาพบริการสาธารณะของ อปท. • ปัจจุบันท้องถิ่นมีรายได้จากงบประมาณรัฐ 25% (ประมาณ 3-4 แสนล้านบาทต่อปี) และจะเพิ่มถึง 35% รวมทั้งการเก็บภาษีและค่าธรรมเนียม

  16. วารสารวิชาการระดับชาติวารสารวิชาการระดับชาติ วารสารวิชาการอยู่ในฐานข้อมูลวารสารวิชาการที่เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ ทั้งนี้วารสารระดับชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติจะสามารถนำมานับรวมได้ก็ต่อเมื่อ • วารสารฉบับนั้นมีผู้ประเมินอิสระหรือพิชญพิจารณ์ ( Peer Review ) • คณะบรรณาธิการฉบับนั้นเป็นผู้ที่มีชื่อเสียงในสาขาที่เกี่ยวข้องกับวารสาร • กองบรรณาธิการจะต้องมาจากสถาบันอื่น ๆ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25

  17. วารสารวิชาการระดับนานาชาติวารสารวิชาการระดับนานาชาติ วารสารวิชาการอยู่ในฐานข้อมูลวารสารวิชาการระดับสากลที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ทั้งนี้วารสารระดับนานาชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูลสากลจะสามารถนำมานับรวมได้ก็ต่อเมื่อวารสารนั้นมีคณะบรรณาธิการเป็นชาวต่างประเทศอย่างน้อย 1 คน และมีบทความวิจัยจากต่างประเทศลงตีพิมพ์ด้วย อย่างน้อย 1 เรื่อง หรือ 1 บทความ ในแต่ละฉบับที่ตีพิมพ์ การนับวารสารวิชาการระดับนานาชาติ และระดับนานาชาติ สามารถนับรวมวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูลซึ่งทางสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) หรือ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ให้การรับรองด้วย

  18. ฐานข้อมูลระดับชาติ ฐานข้อมูลระดับชาติ หมายถึง ฐานข้อมูลที่ครอบคลุมสารสนเทศที่มีในประเทศไทย โดยอาจอยู่ในรูปแบบของบทความวารสาร หนังสือ สิ่งพิมพ์ของรัฐบาล รายละเอียดของสารสนเทศ ครอบคลุมถึงรายการบรรณานุกรม สาระสังเขปประกอบ หรืออาจมีเนื้อหาเต็มด้วย ทั้งนี้สามารถสืบค้นข้อมูลการอ้างอิงในฐานข้อมูลระดับชาติ จากศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai Journal Citation Index Centre; TCI)http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/tcidatabase.html

  19. ฐานข้อมูลระดับนานาชาติฐานข้อมูลระดับนานาชาติ ฐานข้อมูลระดับนานาชาติ หมายถึง ฐานข้อมูลที่ครอบคลุมสารสนเทศจากนานาประเทศโดยอาจอยู่ในรูปแบบของบทความวารสาร หนังสือ สิ่งพิมพ์รัฐบาล ฯลฯ รายละเอียดของสารสนเทศครอบคลุมถึง รายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเนื้อหาเต็ม

  20. ฐานข้อมูล Scopus ฐานข้อมูล Scopusคือ ฐานข้อมูลบรรณานุกรมของบทความในวารสารทางด้าน Life science, Physical Science, Health Science และSocial Science นอกจากนี้ยังมีข้อมูลบางส่วน Conference Proceeding และ Books สามารถ Link ต่อไปยัง Fulltext ในฐานข้อมูลที่บอกรับได้

More Related