1 / 56

การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มศักยภาพ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน มหาวิทยาลัยขอนแก่น. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์. โดย อ.ศักดิ์ชัย เจริญศิริพรกุล วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ (MBA) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 5 มิถุนายน 2555. เป้าหมายในการบรรยาย. สร้างความรู้ความเข้าใจในแนวคิดของการจัดการเชิงกลยุทธ์

rhea-oneil
Download Presentation

การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มศักยภาพ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน มหาวิทยาลัยขอนแก่น การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ โดย อ.ศักดิ์ชัย เจริญศิริพรกุล วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ (MBA) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 5 มิถุนายน 2555

  2. เป้าหมายในการบรรยาย • สร้างความรู้ความเข้าใจในแนวคิดของการจัดการเชิงกลยุทธ์ • ทำให้เกิดความตระหนักในความสำคัญของการจัดการเชิงกลยุทธ์

  3. อนาคต Strategy 2 Strategy 1 Vision ปัจจุบัน

  4. การจัดการเชิงกลยุทธ์ คือการจัดการเพื่อตอบคำถาม 4 ข้อใหญ่ 1.ปัจจุบันองค์กรของเราอยู่ที่ไหน? สภาพที่เป็นอยู่เป็นอย่างไร? 2.องค์กรของเราจะไปที่ไหน? 3.องค์กรของเราจะไปถึงที่หมายนั้นได้อย่างไร?  กลยุทธ์ 4. ทำอย่างไรจึงจะนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติได้จริง?

  5. การบริหารเชิงกลยุทธ์ ประเมิน สิ่งแวดล้อมภายนอก การนำกลยุทธ์ไปใช้ การวางแผนกลยุทธ์ การควบคุม และประเมินผล Vision & Mission ประเมิน สิ่งแวดล้อมภายใน

  6. เราเลือกเป้าหมายอนาคตของเราอย่างไร?เราเลือกเป้าหมายอนาคตของเราอย่างไร?

  7. ท่านตอบคำถามนี้อย่างไรท่านตอบคำถามนี้อย่างไร • องค์กรที่จะประสบความสำเร็จต้องทำอะไร ? สิ่งที่อยากทำ Vs. สิ่งที่ควรทำ

  8. การกำหนดวิสัยทัศน์ขององค์กรการกำหนดวิสัยทัศน์ขององค์กร อดีต มักจะเป็นความฝันอันสูงสุด / เป็นสิ่งที่ยากที่จะบรรลุ มักจะเป็นสิ่งที่จับต้องได้ลำบาก ปัจจุบัน ควรมองภาพไปในอนาคต ถึงสิ่งที่องค์กรอยากจะเป็น จะต้องมองภาพจากข้างนอกเข้ามา ไม่ใช่เพียงสิ่งที่ฝันเพียงอย่างเดียว ควรจะเป็นสิ่งที่องค์กรอยากที่จะเป็นในอีก 3 – 5 ปีข้างหน้า เป็นจุดที่ช่วยให้ผู้บริหารสามารถใช้ในการอ้างอิงหรือเป็นหลักเมื่อจะต้องเผชิญกับการตัดสินใจที่สำคัญ เป็นสิ่งที่จะขับเคลื่อนบุคลากรทั้งองค์กรให้ก้าวไปข้างหน้าด้วยกัน

  9. ข้อควรระวังเกี่ยวกับการกำหนดวิสัยทัศน์ข้อควรระวังเกี่ยวกับการกำหนดวิสัยทัศน์ อย่าลืมว่าวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน จะต้องสอดคล้องและสัมพันธ์กับวิสัยทัศน์ของหน่วยงานบังคับบัญชา กระทรวง สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล กลุ่มภารกิจ สอดคล้องกับกระทรวง อย่าลืมในเรื่องของการสื่อสาร และถ่ายทอดวิสัยทัศน์

  10. กระบวนการพัฒนาวิสัยทัศน์กระบวนการพัฒนาวิสัยทัศน์ ประเมินและวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมภายนอกที่องค์กรกำลังหรือจะต้องเผชิญ ประเมินและวิเคราะห์ บทบาท หน้าที่ ความสามารถที่องค์กรมีอยู่ในปัจจุบัน เมื่อพิจารณาทั้งปัจจัยภายนอกและภายในแล้ว ให้มองภาพไปในอนาคตว่าในอีก 3 – 5 ปีข้างหน้า อะไรคือสิ่งที่องค์กรอยากหรือต้องการที่จะเป็น โดยอย่าลืมคำนึงถึงความต้องการของ Stakeholders ที่สำคัญด้วย

  11. คุณลักษณะที่ดีของวิสัยทัศน์คุณลักษณะที่ดีของวิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์ที่ดีจะต้อง AIM AT บางอย่าง A = Aspirationalบ่งบอกถึง ความปรารถนา อยากได้ อยากจะเป็น I = Inspirationalก่อให้เกิด แรงดลใจ M = Measurableบ่งบอกได้ถึงความสำเร็จในการบรรลุวิสัยทัศน์ A = Attainableความสำเร็จที่ต้องการสามารถบรรลุได้ T = Time-Basedมีระยะเวลาที่เหมาะสม

  12. ควรระลึกเสมอว่า วิสัยทัศน์ไม่ใช่คำสั่งสอน หรือคัมภีร์ วิสัยทัศน์ ไม่ใช่พันธกิจ วิสัยทัศน์ ไม่ใช่ความเป็นจริงในปัจจุบัน แต่เป็นความเป็นไปได้ และความปรารถนาในอนาคต วิสัยทัศน์จะเต็มไปด้วยความคาดหวัง สมมติฐาน วิสัยทัศน์ ไม่ใช่ ถูก หรือ ผิด วิสัยทัศน์จะถูกประเมินได้ก็ต่อเมื่อเปรียบเทียบกับทิศทางอื่นๆ ขององค์กร วิสัยทัศน์ ไม่ควรที่จะนิ่ง ไม่ใช่ทำขึ้นมาครั้งเดียวและใช้ไปอีกหนึ่งร้อยปี แต่วิสัยทัศน์จะต้องยืดหยุ่นและสามารถปรับได้ เมื่อสภาวการณ์เปลี่ยนไป

  13. Missions vs. Visions พันธกิจ (Mission)บอกให้รู้ถึงขอบเขตการดำเนินงานของหน่วยงาน บอกให้รู้ถึงสาเหตุของการดำรงอยู่ และมุ่งเน้นที่บทบาท หน้าที่ ที่จะต้องทำ วิสัยทัศน์ บอกให้รู้ถึงสิ่งที่หน่วยงานอยากจะหรือต้องการจะเป็นในอนาคต บอกให้รู้ถึงเส้นทางเดินของหน่วยงานในอนาคต

  14. ท่านตอบคำถามนี้อย่างไรท่านตอบคำถามนี้อย่างไร • อะไรเกิดก่อน ? การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมภายนอก Vs. การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมภายใน

  15. การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมภายนอกการวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมภายนอก

  16. ความจริงของสิ่งแวดล้อมรอบองค์กรความจริงของสิ่งแวดล้อมรอบองค์กร สิ่งที่เปลี่ยนแปลงเสมอ คือ ความเปลี่ยนแปลง ความไม่แน่นอนของความเปลี่ยนแปลง ขึ้นอยู่กับ: ระดับความซับซ้อนของเรื่องที่เกี่ยวข้อง ระดับของความเปลี่ยนแปลง

  17. การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมภายนอกขององค์กรการวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมภายนอกขององค์กร

  18. การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมภายในการวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมภายใน

  19. การจัดการสาธารณูปโภค และสิ่งอำนวยความสะดวก การทรัพยากรบุคคล การจัดการเทคโนโลยีภายในองค์กร การจัดซื้อขององค์กร การนำเข้าวัตถุดิบ การส่งออกสินค้า การตลาดและการขาย การบริการ การแปรรูป

  20. ประเด็นที่พิจารณา:- • สมรรถนะองค์กร (การบริหาร บุคลากร ประสบการณ์การทำงาน) • ความพร้อมทางการเงิน • ความพร้อมทางเทคนิค วิชาการ • ความคิดสร้างสรรค์ • คุณภาพของ แผนงาน ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี • ความทันสมัยของ เทคนิค เครื่องมือ อุปกรณ์ • การบริหารงานบุคคล • ค่านิยมร่วม สิ่งจูงใจ • อื่น ๆ จุดแข็ง จุดอ่อน

  21. Benchmarking # การวิเคราะห์จุดแข็งหรือจุดอ่อน จะเกิดจากการเปรียบเทียบเสมอ # การเปรียบเทียบ จะต้องเป็นการเปรียบเทียบจากปัจจัยที่จำเป็นจะต้องมีเพื่อที่จะประสบความสำเร็จในการทำงาน

  22. SWOTAnalysis

  23. การใช้ประโยชน์จาก SWOT Analysis • การวิเคราะห์สภาวการณ์ขององค์กร • การวิเคราะห์เพื่อกำหนดกลยุทธ์ • ตาราง TOWS (TOWS Matrix)

  24. TOWS Matrix S - จุดแข็ง W - จุดอ่อน SO WO O - โอกาส WT ST T - ภาวะคุกคาม

  25. การควบคุมเชิงยุทธศาสตร์การควบคุมเชิงยุทธศาสตร์ การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ การวางยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ Strategy Map กำกับติดตามและ ประเมินผลการดำเนินงาน ทบทวนสถานการณ์เพื่อปรับแต่งยุทธศาสตร์ • การปรับแต่ง • กระบวนงาน • โครงสร้าง • เทคโนโลยี • คน • งบประมาณ กระบวนการบริหารงานเชิงกลยุทธ์

  26. ทำไมต้องมีการวางแผนยุทธศาสตร์ทำไมต้องมีการวางแผนยุทธศาสตร์ “อยู่กันมาได้เป็นสิบๆ ปี ไม่เห็นต้องมีแผนยุทธศาสตร์ ไม่เห็นต้องมีตัวชี้วัด ทำไมต้องทำ?” บริบทและสภาวะแวดล้อมในการดำเนินงานเกิด การเปลี่ยนแปลงอย่างมากมาย องค์กรที่ขาดยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ย่อมเหมือนกับเรือที่แล่นโดยขาดหางเสือและ ทิศทางสุดท้ายก็จะแล่นเป็นวงกลมไปเรื่อยๆ แผนยุทธศาสตร์: กำกับทิศทางและเป้าหมาย ผลสำเร็จของการดำเนินงานขององค์กร อย่างเป็นระบบ

  27. ประโยชน์ของกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ประโยชน์ของกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ นโยบายรัฐบาล การเปลี่ยนแปลงของบริบทภายนอก วาระแห่งชาติ การวางแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยราชการ การมีทิศทางในการดำเนินงานที่ชัดเจนและการพัฒนาระบบราชการ การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ มีตัวชี้วัดเพื่อเป็นการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์

  28. ท่านตอบคำถามนี้อย่างไรท่านตอบคำถามนี้อย่างไร • อะไรเกิดก่อน ? • เป้าหมาย Vs. แผนกลยุทธ์

  29. เป้าหมายเป็นตัวกำหนดสิ่งที่จะต้องทำเป้าหมายเป็นตัวกำหนดสิ่งที่จะต้องทำ กำหนดเป้าหมายที่ต้องการ Inputs Process Outputs Outcomes

  30. Measures ตัวชี้วัด ดัชนีชี้วัดผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators - KPI)

  31. KPI ต้อง SMART S = Specific มีความเฉพาะเจาะจงชัดเจน M = Measurable สามารถวัดได้ A = Attainable สามารถบรรลุเป้าหมายได้ R = Realistic มีความสมจริง T = Timely ใช้เวลาตามที่กำหนดได้

  32. องค์ประกอบของยุทธศาสตร์ โดย สำนักงาน ก.พ.ร. Vision วิสัยทัศน์ สิ่งที่อยากจะให้หน่วยงานเป็นในอีก 3 – 5 ปีข้างหน้า Mission พันธกิจ กรอบ ขอบเขต การดำเนินงานของหน่วยงาน Strategic Issues ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นหลักต้องคำนึงถึง ต้องพัฒนา ต้องมุ่งเน้น Goal เป้าประสงค์ อะไรคือสิ่งที่หน่วยงานอยากจะบรรลุ Key Performance Indicators ตัวชี้วัด สิ่งที่จะเป็นตัวบอกว่าหน่วยงานสามารถบรรลุเป้าประสงค์หรือไม่ Target เป้าหมาย ตัวเลข หรือ ค่า ของตัวชี้วัดที่จะต้องไปให้ถึง Strategy กลยุทธ์ สิ่งที่หน่วยงานจะทำเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์

  33. The Balanced Scorecard:A Good Idea in 1992 Balanced Scorecard in 1992 “The Balanced Scorecard – Measures that Drive Performance” Harvard Business Review, 1992

  34. ถูกพัฒนาขึ้นโดย Robert Kaplan และ David Norton เพื่อเกื้อหนุนต่อการประเมินผลทางด้านการเงิน การประเมินผลทางด้านการเงินอย่างเดียว มีข้อจำกัด จุดเริ่มต้นของ Balanced Scorecard

  35. ข้อจำกัดของตัวชี้วัดด้านการเงินข้อจำกัดของตัวชี้วัดด้านการเงิน การแข่งขันในปัจจุบันมุ่งเน้นที่ปัจจัยที่จับต้องไม่ได้มากขึ้น (Intangible Assets)เช่น Knowledge, Image, Reputation, Technology Know how, Innovativeness ตัวชี้วัดทางการเงินจะวัดหรือประเมินในปัจจัยเหล่านี้ได้อย่างไร ปัจจัยอื่นๆ ที่มีความสำคัญต่อการแข่งขัน เช่น ความพอใจของลูกค้า ความพอใจของพนักงาน คุณภาพของสินค้าและบริการ การเคลื่อนไหวของคู่แข่ง ก็ไม่สามารถใช้ตัวชี้วัดทางการเงินมาประเมินได้

  36. ข้อจำกัดของตัวชี้วัดด้านการเงินข้อจำกัดของตัวชี้วัดด้านการเงิน ตัวชี้วัดทางการบอกให้ทราบถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ไม่สามารถช่วยในการบอกถึงโอกาสหรือข้อจำกัดที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เป็น (Lagging Indicators) เปรียบเสมือนการขับรถโดยมองกระจกหลังเพียงอย่างเดียว

  37. Balanced Scorecard ถูกสร้างขึ้นเพื่อประเมินผลตามมุมมองด้านต่าง ๆ 4 ด้าน

  38. มุมมองด้านการเงิน (Financial Perspective) พิจารณาจาก อัตราการเติบโตของรายได้ – การเติบโตของยอดขาย การลดลงของต้นทุน – สัดส่วนของรายได้ต่อจำนวนพนักงาน การใช้สินทรัพย์ – Return On Investment

  39. มุมมองด้านลูกค้า (Customer Perspective) พิจารณาจาก การรักษาลูกค้าเก่า – จำนวนลูกค้าเก่าที่ยังซื้อสินค้าเป็นประจำ การหาลูกค้าใหม่ – จำนวนลูกค้าใหม่ที่เพิ่มขึ้น ความพึงพอใจของลูกค้า

  40. มุมมองด้านกระบวนการภายใน (Internal Process Perspective) พิจารณาจาก เป้าหมายที่องค์กรต้องมีเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้า Innovation Process - การคิดสร้างสรรค์งานใหม่ Customer Management Process - การจัดการลูกค้า Operational Process - การจัดการการปฏิบัติการ Regulatory Process – การจัดการกับกฎระเบียบข้อบังคับ

  41. มุมมองด้านการเรียนรู้และการเติบโต (Learning and Growth Perspective) พิจารณา การตั้งเป้าหมายจาก ปัจจัยที่มีความสำคัญกับพื้นฐานของธุรกิจ ได้แก่ Human Capital Information Technology Capital Organization Capital

  42. การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ เป้าหมายทั้ง 4 ด้าน Inputs Process Outputs

  43. กรอบความคิด Balanced Scorecard 44

  44. การปรับ BSC มาใช้ในภาคราชการไทย Balanced Scorecard (BSC) Result-Based Management (RBM) คำรับรองการปฏิบัติราชการ

  45. มิติการประเมินผลฯ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ 4 ด้าน Financial Perspective Internal Work Process Perspective มิติที่1: มิติด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ ส่วนราชการแสดงผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายตามที่ได้รับงบประมาณมาดำเนินการ เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชนตามแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด มิติที่3: มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ส่วนราชการแสดงความสามารถในการปฏิบัติราชการเช่น การลดค่าใช้จ่าย และการลดระยะเวลาการให้บริการ เป็นต้น มิติที่2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ส่วนราชการแสดงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการในการให้บริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ มิติที่4: มิติด้านการพัฒนาองค์กร ส่วนราชการแสดงความสามารถในการเตรียมพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงขององค์กร เช่น การพัฒนาระบบฐานข้อมูล การบริหารคนและความรู้ในองค์กร เป็นต้น Customer Perspective Learning & Growth Perspective

  46. BALANCED SCORECARD Translate, Focus and Align STRATEGIC INITIATIVES What are the priorities STRATEGIC OUTCOMES SatisfiedSHAREHOLDERS Delighted CUSTOMERS Efficient and EffectivePROCESSES Motivated & PreparedWORKFORCE The Balanced Scorecard Links Vision and Strategy to Employees’ Everyday Actions MISSION Why we exist VALUES What’s important to us VISION What we want to be STRATEGY Our game plan TOTAL QUALITY MANAGEMENT What we must improve EMPOWERMENT / PERSONAL OBJECTIVES What I need to do

  47. แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548 -2551 (คณะรัฐมนตรีอนุมัติ เมื่อ 12 เมษายน 2548) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เล่มที่ 122 ตอนพิเศษ 34 ง วันที่ 12 เมษายน 2548

  48. ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างแผนการบริหารราชการแผ่นดินแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี แผนบริหารราชการแผ่นดิน • มิติภารกิจงานตามอำนาจหน้าที่ (Function) • มิติพื้นที่ (Area) • มิติระเบียบวาระงานพิเศษ (Agenda) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี แผนปฏิบัติราชการประจำปี

  49. รายงานสรุปสภาวะของประเทศรายงานสรุปสภาวะของประเทศ • รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อรัฐสภา เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินมีทิศทางสามารถคาดการณ์ได้ (Predictable) และเป็นระบบ(Programmable) แผนการบริหารราชการแผ่นดิน • Thailand Milestone (Benchmarking) • Vision 2010/2020 • ยุทธศาสตร์ • รายสาขา แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ประมาณการการคลัง (รายรับ/รายจ่าย) ล่วงหน้า Medium-term Fiscal Forward Estimation) กระทรวง /กรม กลุ่มจังหวัด จังหวัด งบประมาณรายจ่าย ประจำปี แผนปฏิบัติราชการ ประจำปี

More Related