1 / 84

วันที่ ๑ – ๔ เมษายน ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเอส ดี อเวนิว กทม.

การอบรมเชิงปฏิบัติการ : การเตรียมความพร้อมครู การจัดการเรียนรู้ “เพศศึกษารอบด้าน” ระบบการเรียนรู้ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และระบบกิจกรรม. วันที่ ๑ – ๔ เมษายน ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเอส ดี อเวนิว กทม. ทบทวนวันวาน. ดูหนังม่านรูด Recap ทบทวนวันวาน ใครเอ่ย หนังทางเลือก 1 ย้อนรอยวัยรุ่น

Download Presentation

วันที่ ๑ – ๔ เมษายน ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเอส ดี อเวนิว กทม.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การอบรมเชิงปฏิบัติการ : การเตรียมความพร้อมครูการจัดการเรียนรู้ “เพศศึกษารอบด้าน”ระบบการเรียนรู้ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และระบบกิจกรรม วันที่ ๑ – ๔ เมษายน ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเอส ดี อเวนิว กทม.

  2. ทบทวนวันวาน • ดูหนังม่านรูด • Recap ทบทวนวันวาน • ใครเอ่ย • หนังทางเลือก1 ย้อนรอยวัยรุ่น • เลือกข้าง หนังทางเลือก 2 • ธัญกับออย หนังทางเลือก 3 • เสนอแผนที่ศึกษา + แบ่งกลุ่มวิเคราะห์แผน จากกิจกรรมทั้งหมดได้เรียนรู้อะไร

  3. สิ่งที่ได้เรียนรู้ • ทัศนะเรื่องถุงยาง (หนังม่านรูด) • ความเชื่อและข้อเท็จจริงเรื่องเพศ (ใครเอ่ย) • พฤติกรรมวัยรุ่นทุกสมัยเหมือนกันสิ่งที่เปลี่ยนคือสิ่งแวดล้อม (ย้อนรอย) • การให้คุณค่าหญิง/ชายไม่เท่ากัน (เลือกข้าง) • เข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล และอยู่ร่วมกันได้ (เลือกข้าง) • การตัดสินใจ+การแก้ปัญหา ของบุคคล ระหว่างเด็ก/ผู้ใหญ่ (ธัญกับออย) • การจัดการเรียนการสอนตามแผน การนำไปใช้ (ศึกษาแผน)

  4. กระบวนการเรียนรู้ กรอบแนวคิดในการเตรียมความพร้อมผู้จัดการเรียนรู้เพศศึกษา เยาวชน บริบททางสังคมวัฒนธรรม แนวคิดหลักเพศศึกษา ๖ ด้าน*: ๑. พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development) ๒. สัมพันธภาพ (Relationship) ๓. ทักษะส่วนบุคคล (Personal Skills) ๔. พฤติกรรมทางเพศ (Sexual Behavior) ๕. สุขภาพทางเพศ (Sexual Health) ๖. สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture) เพศวิถีSexuality แนวทางการให้การศึกษาเรื่อง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา” กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๓และ A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force

  5. กิจกรรม : “แลกน้ำ”

  6. โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV คือ = มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกันกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งดูไม่ออก

  7. What is HIV? HIV = HUMAN IMMUNODEFICIENCY VIRUS THE CAUSE OF………

  8. วัตถุประสงค์ • เข้าใจเรื่องการแพร่ระบาดของเชื้อเอชไอวีทางเพศสัมพันธ์ • ให้สามารถประเมินโอกาสเสี่ยงของตนเองต่อการติดเชื้อเอชไอวีในวิถีชีวิต • เห็นทางเลือกในการป้องกัน/ลดโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี

  9. แลกน้ำ • สารตั้งต้น = สารโซเดียมไฮดรอกไซด์ • สารทดสอบ = ฟินอฟทาลีน

  10. Apply วางแผนประยุกต์ใช้ Reflect สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ (Experiential Learning) Do มี/ผ่านประสบการณ์ เติมข้อมูลใหม่ เติมข้อมูลใหม่ Analyze/Synthesis คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์ เชื่อมร้อยกับประสบการณ์เดิม หรือการจัด “ประสบการณ์จำลอง” ในการเรียนรู้

  11. “แลกน้ำ” • เป็นตัวอย่างของการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อสร้างความตระหนัก • โดยจัดสถานการณ์จำลอง หรือประสบการณ์จำลองให้ผู้เข้าอบรมมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ • และเชื่อมโยงสิ่งที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมการเรียนรู้ไปเทียบเคียงกับสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในชีวิตจริงของผู้เข้าอบรม

  12. คนคิดว่า เพศสัมพันธ์ของตัวเองไม่เกี่ยวกับเอดส์ (ไกลตัว) ภาพในใจ/การรับรู้เรื่องเอดส์ ในสังคมโดยทั่วไป “คนที่มีเชื้อ”v.s. “ผู้ป่วยเอดส์” “กลุ่มเสี่ยง” ไม่ใช่ “เรา” คนประเมินความเสี่ยงพลาด จะไม่นำไปสู่การป้องกัน การรณรงค์ที่ผ่านมาทำให้คนเข้าใจผิด “สำส่อน/มั่วทางเพศ ติดเอดส์แน่นอน” “รักเดียวใจเดียว ปลอดภัยจากเอดส์” “ตรวจเลือดก่อนแต่ง เพื่อความมั่นใจ (ว่าจะไม่ติดเชื้อ)” โจทย์กิจกรรม “แลกน้ำ”

  13. ขั้นตอนสำคัญ • แจกน้ำ – ให้สังเกตน้ำว่า เหมือนต่างจากแก้วเพื่อน ? (เพื่อเชื่อมโยงให้เห็น น้ำใสๆ = การมีเชื้อ HIV) • เก็บน้ำตัวอย่าง (เพื่อพิสูจน์ให้เห็นเริ่มต้น มีแก้วที่มีเชื้อกี่ใบ) • แบ่งกลุ่ม : กลุ่มอาสาสมัคร (แลก ๑ ครั้ง) และ กลุ่มใหญ่ (แลกหลายครั้ง) (เพื่อเปรียบเทียบ การมีเพศสัมพันธ์ครั้งเดียว/คนเดียว กับ หลายครั้ง/หลายคน) • ตรวจน้ำแต่ละแก้ว (เพื่อให้เห็นว่ามีการแพร่กระจายอย่างไร)

  14. ถามเรื่องเกณฑ์การเลือกคู่ ? (เปรียบเทียบกับชีวิตจริง สวย หล่อ หน้าตาดี บุคลิก ) การคุยกับคู่ (เปรียบเทียบกับชีวิตจริง เสียเวลา อด เปรี้ยงกองกับพื้น) กลุ่มเสี่ยงละพฤติกรรมเสี่ยง (กลุ่มเสี่ยง = พฤติกรรมเสี่ยง) ขั้นตอนการคุย

  15. แลกน้ำ • การแลกน้ำ = การมีเพศสัมพันธ์ • น้ำใสๆ = ติดเชื้อ HIVแต่ดูไม่ออก • กลุ่มใหญ่ แลก ๔-๕ ครั้ง = มีเพศสัมพันธ์หลายครั้ง, เปลี่ยนคู่หลายคน • อาสาสมัคร ๒ คน แลก ๑ ครั้ง = รักเดียวใจเดียว, มีครั้งแรกครั้งเดียว

  16. อาสาสมัคร ๓ คน แลก ๑ ครั้ง เปลี่ยนสี = ๐ คน คนส่วนใหญ่ ๒๙ คน แลก ๓-๔ ครั้ง เปลี่ยนสี = ๘ คน ผลการตรวจเลือด เริ่มจากกี่แก้ว ? จึงแพร่ระบาดไป ๘ คน

  17. อาสาสมัคร ๒ คน แลก ๑ ครั้ง เปลี่ยนสี = ๑ คน คนส่วนใหญ่ คน แลก ๔-๕ ครั้ง เปลี่ยนสี = ๙ คน ผลการตรวจเลือด • อาสาสมัคร ๓ คน • แลก ๑ ครั้ง • เปลี่ยนสี = ๒ คน • คนส่วนใหญ่ ๒๙ คน • แลก ๓-๔ ครั้ง • เปลี่ยนสี = ๘ คน จาก ๑ แพร่ระบาดไป ๘ คน

  18. โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV คือมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกันกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งดูไม่ออก

  19. x • คนขายบริการทางเพศ • คนเที่ยว • คนใช้ยาเสพติด • คนรักเพศเดียวกัน “พฤติกรรมเสี่ยง” (ไม่ว่าใครทำ) กลุ่มเสี่ยง = มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกันกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งดูไม่ออก

  20. การป้องกัน ในกรณีมีเพศสัมพันธ์ • รักเดียวใจเดียว • เลิกเที่ยว • ช่วยตัวเอง • ใส่ถุงยางทุกครั้ง • ไม่มีเพศสัมพันธ์เลย • ตรวจเลือดก่อนมีเพศสัมพันธ์ / แต่งงาน ?

  21. ติดเชื้อ ป่วยเอดส์ ต่างจาก

  22. ผู้ติดเชื้อเอชไอวีผู้ที่มีเชื้อเอชไอวีอยู่ในร่างกาย ระดับภูมิคุ้มกันปกติ ดำเนินชีวิตได้ตามปกติ ผู้ป่วยเอดส์ มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง มีโรคหรือกลุ่มอาการ ที่เกิดจากภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง

  23. แลกน้ำ เครือข่าย การมีเพศสัมพันธ์

  24. ผลเลือดบวก = ได้รับเชื้อเอชไอวี • ผลเลือดลบ = ๑. ยังไม่ได้รับเชื้อ • ๒. รับเชื้อแล้ว แต่ยังตรวจไม่พบ ตรวจเลือดเอชไอวี ๓ เดือน ตรวจเลือด ? ๑ เมษา วันที่มีพฤติกรรมเสี่ยง ๑ มกรา ๑๔ กุมภา ? ตรวจเลือด = ป้องกัน

  25. การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี • ถุงยางอนามัย ทุกครั้งกับทุกคน • ไม่มีเพศสัมพันธ์ (ถ้าทำได้) • ตรวจเลือดก่อนแต่งงาน • ไม่สำส่อน • ช่วยตัวเอง

  26. ถุงยางอนามัย ช่วยป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีได้ถ้าคุณใช้!!

  27. อุปกรณ์คุมกำเนิดชนิดเดียว ที่ช่วยป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ถุงยาง ในมือผู้ชาย ถุงยาง ถุงยาง ในมือผู้หญิง การให้คุณค่า ความปลอดภัย ?

  28. กิจกรรม: “ระดับความเสี่ยง QQR”

  29. ระดับความเสี่ยง • เสี่ยงมากเป็นความเสี่ยงในระดับที่ทำให้มีโอกาสได้รับเชื้อสูงมากและคนส่วนใหญ่ได้รับเชื้อเอชไอวีจากความเสี่ยงนั้นๆ • เสี่ยงปานกลางมีความเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อเอชไอวีอยู่บ้าง แต่ไม่เท่าเสี่ยงมาก • เสี่ยงน้อยมากมีความเสี่ยงในเชิงทฤษฎี แต่ในทางเป็นจริง โอกาสและความเป็นไปได้ที่จะได้รับเชื้อเอชไอวีจากการกระทำนั้นๆ แทบไม่มีเลย และไม่ปรากฎหรือมีกรณีน้อยมากๆ ว่ามีคนได้รับเชื้อเอชไอวีจากช่องทางนั้นๆ • ไม่เสี่ยงเป็นการกระทำหรือช่องทางที่ไม่มีโอกาสเสี่ยงต่อการรับเชื้อเอชไอวีเลย

  30. หลักการ QQR

  31. หลักการ QQR การที่คนๆ หนึ่งจะได้รับเชื้อHIV เข้าสู่ร่างกายจะต้องประกอบด้วย ๓ ปัจจัย ดังนี้ • ปริมาณของเชื้อ (Quantity) • คุณภาพของเชื้อ (Quality) • ช่องทางการติดต่อ (Route of Transmission)

  32. Quantity - ปริมาณและแหล่งที่อยู่ของเชื้อ • เชื้อ HIV อยู่ในคนเท่านั้น (เกาะอยู่กับเม็ดเลือดขาว) • เชื้อ HIV อยู่ในสารคัดหลั่งบางอย่างในร่างกายของคนที่มีเชื้อ HIV เช่น เลือด น้ำอสุจิ น้ำในช่องคลอด น้ำนมแม่ ซึ่งมีปริมาณที่ไม่เท่ากัน • ต้องมีจำนวนเชื้อ HIV ในปริมาณที่มากพอในสารคัดหลั่งที่เป็นที่อยู่ของเชื้อ

  33. Quality - คุณภาพของเชื้อ • เชื้อHIVต้องมี “คุณภาพพอ” • เชื้อ HIVไม่สามารถมีชีวิตอยู่นอกร่างกายคนได้ • สภาพในร่างกาย และสภาพแวดล้อม บางอย่างมีผลทำให้เชื้อไม่สามารถอยู่ได้ เช่น ด่างในน้ำลาย กระเพาะอาหาร สภาพอากาศ ความร้อน ความแห้ง น้ำยาต่างๆ

  34. Route of transmissionช่องทางการติดต่อ • ไวรัส HIV จะต้องถูกส่งผ่านจากคนที่ติดเชื้อ ไปยังอีกคนหนึ่ง โดยเชื้อจะต้องตรงเข้าสู่กระแสเลือด • ทางเพศสัมพันธ์ • ทางเลือด(การใช้เข็มฉีดยาเสพติดร่วมกัน) • แม่สู่ลูก ช่องทางออก ช่องทางเข้า

  35. หลักการ QQR การที่คนๆ หนึ่งจะได้รับเชื้อ HIV เข้าสู่ร่างกายจะต้องประกอบด้วย ๓ ปัจจัยดังนี้ คุณภาพของเชื้อ (Quality) ช่องทางการติดต่อ (Route of Transmission) ปริมาณของเชื้อ (Quantity) • เชื้อ HIV อยู่ในคนเท่านั้น (เกาะอยู่กับเม็ดเลือดขาว) • เชื้อ HIV อยู่ในสารคัดหลั่งบางอย่างในร่างกายของคนที่มีเชื้อ HIV เช่น เลือด น้ำอสุจิ น้ำในช่องคลอด น้ำนมแม่ ซึ่งมีปริมาณที่ไม่เท่ากัน • ต้องมีจำนวนเชื้อ HIV ในปริมาณที่มากพอในสารคัดหลั่งที่เป็นที่อยู่ของเชื้อ • เชื้อ HIV ต้องมี คุณภาพพอ • เชื้อ HIV ไม่สามารถมีชีวิตอยู่นอกร่างกายคนได้ • สภาพในร่างกาย และสภาพแวดล้อม บางอย่างมีผลทำให้เชื้อไม่สามารถอยู่ได้ เช่น ด่างในน้ำลาย กรดในกระเพาะอาหาร สภาพอากาศ ความร้อน ความแห้ง น้ำยาต่างๆ • ไวรัส HIV จะต้องถูกส่งผ่านจากคนที่ติดเชื้อ ไปยังอีกคนหนึ่ง โดยเชื้อจะต้องตรงเข้าสู่กระแสเลือด • เลือด • เพศสัมพันธ์ • แม่สู่ลูก โอกาส/ความเป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้น

  36. “โจทย์” ระดับความเสี่ยง“โจทย์” ระดับความเสี่ยง • การให้ข้อมูลเรื่องเอดส์ที่ผ่านมาไม่ชัดเจน/สับสน • “โอกาสเสี่ยง” กับ “การติดเชื้อ” ต่างกัน • คนคิดว่าเชื้อ HIVติดต่อง่าย • รังเกียจผู้ติดเชื้อ • แต่ไม่กังวลการติดเชื้อ จากโอกาสที่ทำให้เสี่ยงมาก

  37. วัตถุประสงค์ • สามารถระบุปัจจัยที่ส่งผลต่อการติดเชื้อ และไม่ติดเชื้อเอชไอวี • สามารถใช้หลักการ QQR ในการประเมินระดับความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีได้ • มีความมั่นใจมากขึ้นในการอยู่ร่วมกับผู้ติดเชื้อ

  38. Apply วางแผนประยุกต์ใช้ Reflect สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ (Experiential Learning) Do มี/ผ่านประสบการณ์ เติมข้อมูลใหม่ เติมข้อมูลใหม่ Analyze/Synthesis คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์ เชื่อมร้อยกับประสบการณ์เดิม หรือการจัด “ประสบการณ์จำลอง” ในการเรียนรู้

  39. ผู้หญิง เกิดการติดเชื้อบริเวณช่องคลอด น้ำอสุจิ หลั่งอยู่ในช่องคลอด ผู้ชาย เชื้อเข้าทางรูฉี่ สัมผัสเชื้อ ขณะอยู่ในช่องคลอด โดยสรีระ ผู้หญิงมีโอกาสเสี่ยง มากกว่า ผู้ชาย

  40. แม่สู่ลูก • ลดโอกาสเสี่ยง • คลอดโดยการผ่า • กินนมผง • นำนมแม่ ไปต้ม • กินยาต้าน • ลดโอกาสติดเชื้อเหลือ ๒-๕% • โอกาสติดเชื้อ ๒๕-๓๐% • ระหว่างตั้งครรภ์ • รกผิดปกติ • ตอนคลอด • คลอดโดยธรรมชาติ เด็กสัมผัสเลือดมาก • หลังคลอด • การกินนมแม่

  41. ฝ่ายทำ Oral sex (ให้ผู้ติดเชื้อ) ฝ่ายถูกทำ Oral Sex (โดยผู้ติดเชื้อทำให้) oral sex

  42. ผู้ติดเชื้อ (เจ้าของปาก) เจ้าของจู๋/จิ๋ม มีโอกาสติดเชื้อ ? ผู้ติดเชื้อ ทำ oral sex ให้

  43. เจ้าของปาก มีโอกาสติดเชื้อ ? เจ้าของจิ๋ม ติดเชื้อ ทำ oral sex ให้ผู้ติดเชื้อ เจ้าของปาก มีโอกาสติดเชื้อ ? เจ้าของจู๋ ติดเชื้อ

  44. เจ้าของปาก มีโอกาสติดเชื้อ ? เจ้าของจิ๋ม ติดเชื้อ ทำ oral sex ให้ผู้ติดเชื้อ ไม่พบว่า มีการติดเชื้อ

  45. มีการติดเชื้อ อักเสบในลำคอ มีการหลั่ง ในปาก ทำ oral sex ให้ผู้ติดเชื้อ เจ้าของปาก มีโอกาสติดเชื้อ ? เจ้าของจู๋ ติดเชื้อ พบว่า มีการติดเชื้อ โดย มีปัจจัย ที่เกี่ยวข้อง

  46. เสี่ยง โอกาสการได้รับเชื้อ HIV ? Relativity ขึ้นอยู่กับบริบท

  47. เสี่ยง ติด ๑๐๐% โอกาสการได้รับเชื้อ HIV ? Relativity ขึ้นอยู่กับบริบท

  48. เสี่ยง ติด ๑๐๐% โอกาสการได้รับเชื้อ HIV ? Relativity ขึ้นอยู่กับบริบท

  49. โอกาสการติดเชื้อ HIV ใน ๑๐,๐๐๐ คน • การรับเลือด ๙,๐๐๐ คน • การใช้เข็มฉีดยาเสพติดร่วมกัน ๖๗ คน • การเป็นฝ่ายรับ เพศสัมพันธ์ทางก้น๕๐ คน • การถูกเข็มตำ ๓๐ คน • การเป็นฝ่ายรับ เพศสัมพันธ์ทางช่องคลอด ๑๐ คน • การเป็นฝ่ายรุก เพศสัมพันธ์ทางก้น ๖.๕ คน • การเป็นฝ่ายรุก เพศสัมพันธ์ทางช่องคลอด ๕ คน • การเป็นฝ่ายรับ oral sex (ทำให้ PHA)๑ คน

  50. ปัจจัยที่ทำให้ผู้ติดเชื้อ HIV มีชีวิตได้ต่อไปอย่างมีความสุข • การกินยาตรงเวลา ตลอดชีวิต • ความหวัง / ความรัก/กำลังใจ จาก...คนรอบข้าง,ครอบครัว • เห็นคุณค่าในตัวเอง • ความพอดีในการเป็นคนหนึ่งคนในสังคม • สังคมยอมรับ?

More Related