1 / 12

นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล

นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล. ปัจจัยด้านสังคม. ปัจจัยด้านองค์การ. ปัจจัยด้านบุคคล. ค่านิยมในสังคม ระบบอุปถัมภ์ การมีส่วนร่วม. ธรรมาภิบาล โครงสร้างองค์การ การนิเทศและการสื่อสาร มาตรฐานการปฏิบัติ

Download Presentation

นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล

  2. ปัจจัยด้านสังคม ปัจจัยด้านองค์การ ปัจจัยด้านบุคคล • ค่านิยมในสังคม • ระบบอุปถัมภ์ • การมีส่วนร่วม • ธรรมาภิบาล • โครงสร้างองค์การ • การนิเทศและการสื่อสาร • มาตรฐานการปฏิบัติ • การใช้ดุลยพินิจในกระบวน การตัดสินใจ • การควบคุมภายใน • ภูมิหลังครอบครัว • ค่านิยมส่วนบุคคล • ความเชื่อ • จริยธรรม คุณธรรม • จิตสำนึกสาธารณะ ปัจจัยด้านการเมืองและนโยบาย • ความไม่ชัดเจนของนโยบาย • การแทรกแซงของกลุ่ม ผลประโยชน์ กระบวนการขัดเกลาทางสังคม ระบบการตรวจสอบและควบคุม ปัจจัยด้านกฎหมาย • ขอบเขต/ความครอบคลุม • ช่องว่างของกฎหมาย • ความล้าหลังของกฎหมาย ผลประโยชน์ สาธารณะ ผลประโยชน์ ส่วนตัว ความขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน และผลประโยชน์ส่วนรวม

  3. วิสัยทัศน์ ค่านิยม วงรุ่งเรืองของกรมชลประทานในอนาคต วัฒนธรรม วัฒนธรรมในจิตสำนึก ผลลัพธ์ที่ได้ พฤติกรรม ผลการดำเนินงานทางธุรกิจ ดัชนีชี้วัดผลการปฏิบัติงาน ปัจจัยแห่งความสำเร็จ แผนการปฏิบัติเชิงกลยุทธ์

  4. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ (มาตรา 6,8,9,12,13,16) 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล (มาตรา 10,11,27,47) 1. การนำองค์กร (มาตรา 8,9,12,16,18, 20,23,27,28,43,44,46) 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ (มาตรา 9,12, 16,18,45) 6. การจัดการ กระบวนการ (มาตรา 10,20,27, 28,29,31) 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (มาตรา 8,30,31,38-42,45) 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (มาตรา 11,39)

  5. คำรับรองการปฏิบัติราชการคำรับรองการปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล พัฒนา องค์กร คุณภาพ Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล แผนแม่บทด้านทรัพยากรบุคคล 3-5 ปี (Competency) ระบบควบคุมภายใน 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ Blueprint for Change 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ Redesign Process การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Capacity Building 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ Knowledge Management e-government MIS เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

  6. ความสัมพันธ์ในการสร้างบุคลากรความสัมพันธ์ในการสร้างบุคลากร จากผลของการสนับสนุนและความท้าทาย ความท้าทาย สูง มืออาชีพ เริ่มเรียนรู้ 4 3 คลุกโคลน เลี้ยงทารก 1 2 การสนับสนุน ต่ำ สูง ต่ำ

  7. ปัจจัยหลักในการบริหารจัดการน้ำในอนาคตปัจจัยหลักในการบริหารจัดการน้ำในอนาคต ธรรมาภิบาล น้ำ ความปลอดภัย ความยั่งยืน

  8. การเคลื่อนย้ายกำลังคนอย่างสมดุลการเคลื่อนย้ายกำลังคนอย่างสมดุล พ.ศ. จุดวกกลับ 2551 2535 2445 คน 7,075 8,996

  9. อดีต ของ ดวง เด็กของใคร วิ่งอย่างไร ขาด หลักธรรมา ภิบาล ด ว ง เงินเท่าไร

  10. อนาคต ของ ดวง วิชาการดีไหม ดีพอไหม ตาม หลักธรรมา ภิบาล ด ว ง งานดีไหม

  11. ส่งเสริมคนดีและคนเก่งส่งเสริมคนดีและคนเก่ง • ควรให้การสนับสนุนส่งเสริมผู้ปฏิบัติงาน เพราะคนดี คนเก่ง จะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาความเจริญในด้านต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ดังพระราชดำรัสที่ว่า “... ในบ้านเมืองนั้น มีทั้งคนดีและคนไม่ดี การทำให้บ้านเมืองมีความปกรติสุขเรียบร้อยจึงมิใช่การทำให้ทุกคนเป็นคนดี ไม่มีใครจะทำให้ทุกคนเป็นคนดีได้ทั้งหมด หากอยู่แต่ที่การส่งเสริมคนดี ให้คนดีได้ปกครองบ้านเมือง และควบคุมคนไม่ดี ไม่ให้มีอำนาจ ไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุ่นวายได้ ...”

  12. person@mail.rid.go.th สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

More Related