1 / 124

กฎหมายที่เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติและสังคมโลก

กฎหมายที่เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติและสังคมโลก. กฎหมายที่เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติและสังคมโลก. ตัวชี้วัด : วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก (ส 2.1 ม . 4-6 / 1 ). ความหมายความสำคัญ. ผังการเรียนรู้.

Download Presentation

กฎหมายที่เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติและสังคมโลก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎหมายที่เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติและสังคมโลก

  2. กฎหมายที่เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติและสังคมโลก ตัวชี้วัด : วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก (ส 2.1 ม. 4-6/1)

  3. ความหมายความสำคัญ ผังการเรียนรู้ ลักษณะของกฎหมาย ประเภทของกฎหมาย 2.กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว กฎหมายที่เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติและสังคมโลก 1.ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ , กฎหมายอาญา, กฎหมายอื่น ๆ ที่สำคัญ และข้อตกลงระหว่างประเทศ

  4. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย กฎหมาย (Laws) ข้อบังคับของรัฐที่ตราขึ้นมาเพื่อใช้กำหนด/ควบคุมความประพฤติและระเบียบแบบแผนของพลเมืองที่เข้ามาอยู่ร่วมกันเป็นสังคม

  5. ความสำคัญของกฎหมาย เพื่อสร้างความสงบเรียบร้อยในสังคม เพื่อควบคุมพฤติกรรมของบุคคลในสังคมให้อยู่ในระเบียบแบบแผนที่ดีงาม เพื่อปกป้องและรักษาชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน

  6. ลักษณะของกฎหมาย 1. เป็นคำสั่งหรือข้อบังคับที่ให้บุคคลปฏิบัติ ครอบคลุมภายในอาณาเขตของประเทศ 2. เป็นคำสั่งหรือข้อบังคับที่ผู้มีอำนาจโดยรัฐเป็นผู้ตราขึ้น

  7. ลักษณะกฎหมาย…… 3. ต้องมีสภาพบังคับ ผู้ใดฝ่าฝืนย่อมได้รับโทษ เช่น ประหารชีวิต จำคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพย์ อาญา มีโทษ 5 สถาน แพ่ง ต้องชดใช้ค่าเสียหาย หรือค่าสินไหมทดแทน

  8. ลักษณะ…ต่อ……. มีผลใช้บังคับตลอดไป จนกว่าจะถูก 4. เปลี่ยนแปลงกฎหมายโดยกฎหมายอื่น ยกเลิก

  9. ลักษณะ…..ต่อ มีความเสมอภาคและยุติธรรม ไม่มีการละเว้นการปฏิบัติ หรือเจาะจง เพื่อประโยชน์ต่อผู้ใด/กลุ่มใด ทุกคนต้องปฏิบัติตาม และจะอ้างว่า ไม่รู้กฎหมายมิได้ 5.

  10. ประเภทของกฎหมาย แบ่งตามความสัมพันธ์ กฎหมายเอกชน 1. กฎหมายมหาชน กฎหมายระหว่างประเทศ

  11. ลักษณะของกฎหมาย : อธิบายตามประเภทของกฎหมาย เป็นกฎหมายที่มีความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน ลักษณะ กฎหมายเอกชน หรือ เอกชน กับรัฐ และรัฐต้องมีสถานะเทียบเท่าเอกชน เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

  12. รัฐกับประชาชน กฎหมายมหาชน รัฐมีฐานะที่มีอำนาจมากกว่าประชาชน ลักษณะ เช่น รัฐธรรมนูญ กฎหมายอาญา

  13. กฎหมายระหว่างประเทศ รัฐกับรัฐ : (G to G) ในฐานะที่เท่าเทียมกัน ลักษณะ เช่น สนธิสัญญา อนุสัญญา พิธีสาร ข้อตกลงระหว่างประเทศ

  14. ประเภทของกฎหมาย…ต่อ รัฐธรรมนูญ แบ่งตามลำดับศักดิ์ของกฎหมาย พระราชบัญญัติ 2. พระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง กฎอื่น ๆ

  15. ลักษณะของกฎหมาย กฎหมายสูงสุดในการจัดการปกครองรัฐ ถ้าแปลตามความหมายของคำ จะหมายถึง การปกครองรัฐอย่างถูกต้องเป็นธรรม (รัฐ + ธรรม + มนูญ) รัฐธรรมนูญ ทุกประเทศทั่วโลกมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ทั้งประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย รวมถึงประเทศที่ปกครองระบอบเผด็จการ เพื่อใช้เป็นหลักหรือเป็นแนวทางในการบริหารประเทศ

  16. กฎหมายที่ตราขึ้นโดยผ่านนิติบัญญัติกฎหมายที่ตราขึ้นโดยผ่านนิติบัญญัติ พระราช บัญญัติ ลักษณะ โดย ส.ส. หรือ ครม. เป็นผู้เสนอ

  17. ตราขึ้นโดยฝ่ายบริหาร พระราชกำหนด มีฐานะเทียบเท่า พระราชบัญญัติ ลักษณะ จะตราได้เมื่อ ครม เห็นว่า เป็น กรณีฉุกเฉิน จำเป็น เร่งด่วน ซึ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้

  18. พระราชกำหนด จะเน้นกระทำเมื่อ..... ประเทศ 1.รักษาความปลอดภัยของ 4. เพื่อรักษาผลประโยชน์ของแผ่นดิน สาธารณะ 2.รักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ 3. ป้องกันภัยพิบัติสาธารณะ

  19. ขั้นตอนการดำเนินการ ตราพระราชกำหนด 1. ครม. เห็นชอบ 2. ประกาศเป็นกฎหมายมีผลบังคับใช้ได้ทันที ถ้าอยู่ในสมัยประชุม ให้ ครม. เสนอ พระราชกำหนด ต่อสภาพิจารณาทันที ถ้าอยู่นอกสมัยประชุมสภา ให้เรียกประชุมสมัยวิสามัญ เพื่อขอความเห็นชอบต่อสภา

  20. ตราขึ้นโดยฝ่ายบริหาร เพื่อวางระเบียบทางการบริหาร โดยอาศัย… พระราชกฤษฎีกา ลักษณะ 1. พระราชบัญญัติ 2. พระราชกำหนด 3. รัฐธรรมนูญ โดยรัฐธรรมนูญให้อำนาจไว้แล้ว

  21. เป็นกฎที่ตราขึ้น โดยมี รัฐมนตรีที่ดูแลกระทรวงนั้น ๆ เป็นผู้กำหนดรายละเอียด เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ กฎกระทรวง

  22. กฎอื่น ๆ เช่น ประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ ฯลฯ กฎหมายที่องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ออก ได้แก่ เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติจังหวัด ข้อบังคับสุขาภิบาล ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ข้อบัญญัติเมืองพัทยา

  23. ประเภทของกฎหมาย ต่อ.. แบ่งตามลักษณะของการนำไปใช้ กฎหมายสารบัญญัติ 3. กฎหมายวิธีสบัญญัติ

  24. กฎหมายสารบัญญัติ ลักษณะ…. 1.เป็นกฎหมายว่าด้วย สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของบุคคล 2.มีองค์ประกอบการกระทำผิด 3.มีสภาพบังคับ เช่น -ประมวลกฎหมายอาญา -ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

  25. กฎหมายวิธีสบัญญัติ ลักษณะ…. เป็นกฎหมายที่ว่าด้วยการวางวิธีการปฏิบัติสำหรับบุคคลที่จะเรียกร้องของความคุ้มครองของกฎหมาย เมื่อมีข้อโต้แย้งเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ เช่น -ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา -ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง

  26. กฎหมายที่เกี่ยวกับตนเอง และครอบครัว ประวัติความเป็นมาความหมาย หลักทั่วไป การแบ่งหมวดหมู่ ผังการเรียนรู้ ความสามารถของบุคคล กฎหมายเกี่ยวกับตนเอง บัตรประจำตัวประชาชน ชื่อบุคคล กฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว การหมั้น การสมรส ทรัพย์สินสามีภรรยา ความสัมพันธ์ในครอบครัว การหย่า มรดก ทายาท พินัยกรรม

  27. กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ประวัติความเป็นมา เริ่มขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2451 โดยมีกฎหมายแม่แบบหลัก ของประเทศเยอรมัน ญี่ปุ่น ของสยาม ชาติอื่น ๆ และกฎหมายระหว่างประเทศบางส่วน ประเทศฝรั่งเศส และสวิส เป็นแม่แบบรอง ₊ ₊

  28. ความหมาย : กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายแพ่ง เป็นกฎหมายเอกชนว่าด้วยเรื่อง สิทธิ หน้าที่ ความสัมพันธ์ ระหว่างเอกชนต่อเอกชน ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย กฎหมายแพ่งของไทยบัญญัติในรูปของประมวลกฎหมายรวมกับกฎหมายพาณิชย์   รวมเรียกว่า กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

  29. กฎหมายพาณิชย์   กฎหมายว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของบุคคล อันเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับการเศรษฐกิจและการค้า โดยวางระเบียบเกี่ยวกับการค้าหรือธุรกิจระหว่างบุคคล การตั้งห้างหุ้นส่วน การประกอบการ เรื่องเกี่ยวกับตั๋วเงิน (เช่น เช็ค) กฎหมายว่าด้วยการซื้อขาย การเช่าทรัพย์ การจำนอง การจำนำเป็นต้น

  30. การแบ่งหมวดหมู่ของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์การแบ่งหมวดหมู่ของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ปัจจุบันกฎหมายแพ่งและกฎหมายพาณิชย์ของ ประเทศไทยได้บัญญัติรวมเป็นกฎหมายฉบับเดียวกัน เรียกว่า "ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์" แบ่งออกเป็น 6 บรรพ……. บรรพ 1 ว่าด้วยหลักทั่วไป บรรพ 2 ว่าด้วยหนี้ บรรพ 3 ว่าด้วยเอกสารสัญญา บรรพ 4 ว่าด้วยทรัพย์สิน บรรพ 5 ว่าด้วยครอบครัว บรรพ 6 ว่าด้วยมรดก  

  31. โดยมีผลใช้บังคับครั้งแรกในพ.ศ. 2468 จนถึงปัจจุบัน ประมวลกฎหมายดังกล่าวมีอายุเกือบหนึ่งศตวรรษแล้ว

  32. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ : บรรพ 1-6 • บรรพ 1 หลักทั่วไปประกอบด้วย บทบัญญัติ 6 ลักษณะ • ลักษณะ 1 บทเบ็ดเสร็จทั่วไป • ลักษณะ 2 บุคคล • ลักษณะ 3 ทรัพย์ • ลักษณะ 4 นิติกรรม • ลักษณะ 5 ระยะเวลา • ลักษณะ 6 อายุความ

  33. บรรพ 2 หนี้ประกอบด้วย • บทบัญญัติ 5 ลักษณะ ดังนี้ • ลักษณะ 1 บทเบ็ดเสร็จทั่วไป • ลักษณะ 2 สัญญา • ลักษณะ 3 จัดการงานนอกสั่ง • ลักษณะ 4 ลาภมิควรได้ • ลักษณะ 5 ละเมิด ไม่ 

  34. บรรพ 3 ประกอบด้วยบทบัญญัติ 23 ลักษณะ • ลักษณะ 1 ซื้อขาย • ลักษณะ 2 แลกเปลี่ยน • ลักษณะ 3 ให้ • ลักษณะ 4 เช่าทรัพย์ • ลักษณะ 5 เช่าซื้อ • ลักษณะ 6 จ้างแรงงาน • ลักษณะ 7 จ้างทำของ • ลักษณะ 8 รับขน • ลักษณะ 9 ยืม • ลักษณะ 10 ฝากทรัพย์ • ลักษณะ 11 ค้ำประกัน • ลักษณะ 12 จำนอง • ลักษณะ 13 จำนำ • ลักษณะ 14 เก็บของในคลังสินค้า • ลักษณะ 15 ตัวแทน • ลักษณะ 16 นายหน้า • ลักษณะ 17 ประนีประนอมยอม • ความ • ลักษณะ 18 การพนันและขันต่อ • ลักษณะ 19 บัญชีเดินสะพัด • ลักษณะ 20 ประกันภัย • ลักษณะ 21 ตั๋วเงิน • ลักษณะ 22 หุ้นส่วนและบริษัท • ลักษณะ 23 สมาคม

  35. บรรพ 4 ทรัพย์สินประกอบด้วยบทบัญญัติ 8 ลักษณะ • ลักษณะ 1 บทเบ็ดเสร็จทั่วไป • ลักษณะ 2 กรรมสิทธิ์ • ลักษณะ 3 ครอบครอง • ลักษณะ 4 ภาระจำยอม • ลักษณะ 5 อาศัย • ลักษณะ 6 สิทธิเหนือพื้นดิน • ลักษณะ 7 สิทธิเก็บกิน • ลักษณะ 8 ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์

  36. บรรพ 5 ครอบครัวประกอบด้วยบทบัญญัติ 3 ลักษณะ ดังนี้ • ลักษณะ 1 การสมรส • ลักษณะ 2 บิดามารดากับบุตร • ลักษณะ 3 ค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตร

  37. บรรพ 6 มรดกประกอบด้วย • บทบัญญัติ 6 ลักษณะ ดังนี้ • ลักษณะ 1 บทเบ็ดเสร็จทั่วไป • ลักษณะ 2 สิทธิโดยธรรมในการรับมรดก • ลักษณะ 3 พินัยกรรม • ลักษณะ 4 วิธีจัดการและปันทรัพย์มรดก • ลักษณะ 5 มรดกที่ไม่มีผู้รับ • ลักษณะ 6 อายุความ

  38. หลักทั่วไป : ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บุคคล หมายถึง สิ่งซึ่งมีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย มี 2 ประเภท 1.บุคคลธรรมดา หมายถึง มนุษย์ซึ่งมีสภาพบุคคล และสิ้นสภาพบุคคล โดย… การตายตามธรรมชาติ หรือตายโดยการสาบสูญ (กรณีปกติ 5 ปี) กรณีไม่ปกติ 2 ปี คือ อยู่ในระหว่างการรบสงคราม ประสบภัยในการเดินทาง เหตุอันตรายต่อชีวิต)

  39. นิติบุคคล หมายถึง สิ่งที่กฎหมายรับรองให้เป็นสภาพบุคคลสมมติ ให้มีสิทธิหน้าที่เหมือนบุคคลธรรมดา แบ่งเป็น 2 ประเภท 1.นิติบุคคลตามกฎหมายเอกชนคือ นิติบุคคลที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มีด้วยกัน 5ประเภท ได้แก่ (ก) บริษัทจำกัด (ข) ห้างหุ้นส่วนจำกัด (ค) ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน (ง) สมาคม (จ) มูลนิธิ 2.นิติบุคคลตามกฎหมายมหาชนคือ นิติบุคคลที่บัญญัติไว้ในกฎหมายมหาชนอื่นๆซึ่งมีเป็นจำนวนมาก เช่น โรงเรียน วัด จังหวัด กระทรวง ทบวง กรม องค์การมหาชน เป็นต้น

  40. ความสามารถของบุคคล การใช้สิทธิและหน้าที่ของบุคคลที่มีอยู่ได้มากน้อยเพียงใดปกติทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันตาม กฎหมายแต่มีความสามารถใช้สิทธิแตกต่างกัน แบ่งตามสิทธิได้ 2ทาง คือ1)การมีสิทธิต่างๆเช่นสิทธิการครอบครอง สิทธิในการเรียกร้องความยุติธรรม ฯลฯ 2)การใช้สิทธิต่างๆเช่นสามารถในการทำนิติกรรมการสมรสการรับบุตรบุญธรรมเป็นต้น ไหนดูหน่อยซิ..หมายความว่าอะไร

  41. ความสามารถของบุคคล กับ ความแตกต่างในการใช้สิทธิ บุคคลไร้ความสามารถหรือบุคคลที่ถูกจำกัดความสามารถ ได้แก่ ผู้เยาว์ ผู้ไร้ความสามารถ ผู้เสมือนไร้ความสามารถ คนวิกลจริต

  42. ความหมายของผู้เยาว์ ผู้เยาว์คือผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะผู้เยาว์จะบรรลุ นิติภาวะ ต่อเมื่อ 1.อายุ20ปีบริบูรณ์ 2.สมรสแล้วถูกต้องตามกฎหมาย โดยมีเงื่อนไข  หญิงชายจะสมรสได้ต่อเมื่ออายุครบ17ปี • หรือ • เมื่อศาลอนุญาตให้สมรสในกรณีอายุไม่ครบ17ปี

  43. ความหมายของคนไร้ความสามารถความหมายของคนไร้ความสามารถ เป็นบุคคลวิกลจริตที่อาจเกิดจากโรคจิต จิตฟั่นเฟือน จิตบกพร่อง มีผู้ร้องขอต่อศาลให้สั่งเป็นคนไร้ความสามารถ คนไร้ความ สามารถ พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตายาย ผู้สืบสันดาน (ลูก หลาน เหลน) เป็นผู้ร้องขอ

  44. ความหมายของคนเสมือนไร้ความสามารถความหมายของคนเสมือนไร้ความสามารถ = บุคคลที่มีความบกพร่องบางอย่างไม่สามารถจัดการงานของตนเองได้ หรือถ้าได้อาจจะเสียเปรียบหรือเสียประโยชน์ เช่น ติดสุราเมายา ประพฤติสุรุ่ยสุร่าย กายพิการ จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ คนเสมือนไร้ความสามารถ ศาลสั่งโดยการร้องขอของ สามี ภรรยา บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ฯลฯ

  45. กฎหมายที่เกี่ยวกับตนเองกฎหมายที่เกี่ยวกับตนเอง กฎหมายเกี่ยวกับชื่อบุคคล ประเภทของกฎหมายที่เกี่ยวกับตนเอง  กฎหมายเกี่ยวกับบัตรประจำตัวประชาชน

  46. กฎหมายเกี่ยวกับชื่อบุคคลกฎหมายเกี่ยวกับชื่อบุคคล เป็นถ้อยคำที่ตั้งขึ้นเพื่อใช้เรียกบุคคล เพื่อ บ่งบอกถึงตัวบุคคลนั้น เช่น ครูอังศณา เป็นครูที่แสนจะดีของนักเรียน ม.4 /1-6 เป็นต้น ความหมายของชื่อบุคคล ประกอบด้วย ชื่อตัว (First Name)  ชื่อสกุล (Family Name)

  47. ชื่อสกุล (Family Name) ชื่อตัว (First Name) เป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยกฎหมายเกี่ยวกับตนเองและครอบครัว บุคคลที่ถูกต้องตามกฎหมายจะต้องเป็นบุคคลที่มีชื่อตัว และชื่อสกุล ซึ่งมีทะเบียนของทางราชการกำกับไว้ เพื่อจำแนก หรือบ่งบอกบุคคลในการอยู่ร่วมกันในสังคม

More Related