1 / 17

การพัฒนาตาม Service Plan จ.อุตรดิตถ์ ปี ๒๕๕๗

การพัฒนาตาม Service Plan จ.อุตรดิตถ์ ปี ๒๕๕๗. ๑.ทบทวนคำสั่งคณะทำงานฯ จังหวัดอุตรดิตถ์ ปี ๒๕๕๗ ๒.คณะทำงานฯ ระดับจังหวัด ๑๑ สาขา ประชุมระหว่างวันที่ ๗ - ๒๖ พ.ย. ๒๕๕๖ ๒.๑สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดในการพัฒนา Service Plan ปี ๒๕๕๖

reegan
Download Presentation

การพัฒนาตาม Service Plan จ.อุตรดิตถ์ ปี ๒๕๕๗

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาตาม Service Plan จ.อุตรดิตถ์ปี ๒๕๕๗

  2. ๑.ทบทวนคำสั่งคณะทำงานฯ จังหวัดอุตรดิตถ์ ปี ๒๕๕๗ ๒.คณะทำงานฯ ระดับจังหวัด ๑๑ สาขา ประชุมระหว่างวันที่ ๗ - ๒๖ พ.ย. ๒๕๕๖ ๒.๑สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดในการพัฒนา Service Plan ปี ๒๕๕๖ ๒.๒พิจารณาทบทวนแผน Service Plan จังหวัดอุตรดิตถ์ ปี ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐ จำแนกรายสาขาและแผนการดำเนินงาน/เป้าหมายตัวชี้วัด ปี ๒๕๕๗ ๓.คณะทำงานฯ ระดับจังหวัด ๑๑ สาขา สรุปผลลัพธ์การดำเนินงานตัวชี้วัดตาม Service Plan และแผนการดำเนินงาน/เป้าหมายตัวชี้วัดการพัฒนาฯ ปี ๒๕๕๗ (วันที่ ๑๖ ธ.ค. ๒๕๕๖) ๔.คณะทำงานพิจารณาจัดสรรงบตามผลผลิต กิจกรรม Service Plan ปี 2557 (วันที่ ๒๐ ม.ค. ๒๕๕๗) และคณะอนุกรรมการฯ/ประธาน/เลขาฯรายสาขาพิจารณาแผน/งบประมาณ (วันที่ ๒๒-๒๓ม.ค. ๒๕๕๗) ๕.คณะทำงานพิจารณา/สรุปอนุมัติจัดสรรงบตามผลผลิต กิจกรรม Service Plan ปี 2557 (วันที่ ๒๔ ม.ค. ๒๕๕๗) การดำเนินงาน Service Plan ปี ๒๕๕๗

  3. ลดอัตราการเสียชีวิตด้านโรคหัวใจและหลอดเลือด และลดภาวะแทรกซ้อน เน้นที่ STEMI/Non- STEMI,Open Heart สาขาที่ 1 โรคหัวใจและหลอดเลือด ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด / หัตถการ เป้าหมายการดูแลต่อเนื่อง เป้าหมาย stemi เป้าหมาย Warfarin Clinic • 1.อัตราตาย STEMI < 15 % • 2. ผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดภายใน • 30 นาทีเพิ่มขึ้น 10 % (ปัจจุบัน 40.44 %) • 1.ร้อยละของ รพช. ที่มีWarfarinClinic • 2. ร้อยละของ รพช. ที่มีค่า Target INR > 50 % KPI เพิ่มบริการดูแลต่อเนื่อง (Warfarin & Heart failure clinic,Cardiac Rehab พัฒนาศักยภาพ รพช. ให้สามารถให้ยา ละลายลิ่มเลือดได้ / พัฒนารพช. ให้มีคลินิกWarfarin 1. ส่งข้อมูลผ่าน Home Health Care 2. พัฒนาการเก็บตัวชี้วัดทาง E-Mail 3. ทบทวนการดูแลผู้ป่วยโดย Conference โครงการพัฒนาระบบบริการโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง จ.อุตรดิตถ์ ปี 2557 งบประมาณ 250,800 บาท Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน

  4. อัตราการเกิดมะเร็งรายใหม่ ลดลง สาขาที่ 2 โรคมะเร็ง รพท. ให้ยาเคมีบำบัดในกลุ่ม Antracyclineได้ เป้าประสงค์ที่ 3 เป้าประสงค์ที่ 1 เป้าประสงค์ที่ 2 2. พัฒนาระบบบุคลากรสหวิชาชีพให้เหมาะสมทุกระดับ 1. พัฒนาระบบบริการการรักษาโรคมะเร็งในทุกระดับและลด Refer out นอกเขต การคัดกรองมะเร็งเต้านม ปากมดลูก มะเร็งลำไส้ใหญ่เพิ่มขึ้นอัตราการเกิดมะเร็งรายใหม่ ลดลง KPI รพ.ระดับ M 2 สามารถให้เคมีบำบัดต่อเนื่องได้ 3. พัฒนาระบบสารสนเทศและการส่งต่อ โครงการพัฒนาระบบโรคมะเร็ง งบประมาณ 263,000 บาท Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน

  5. มีระบบการให้บริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพมีระบบการให้บริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพ สาขาที่ 3 ด้านอุบัติเหตุ *มีระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน *มีระบบส่งต่อที่มีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 4,5 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2,3 1.การพัฒนาระบบฐานข้อมูลการเฝ้าระวังการบาดเจ็บ (IS) 2.การพัฒนาระบบการให้บริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพ 3.การเสริมสร้างระบบบริการสุขภาพด้านอุบัติเหตุให้มีมาตรฐานในทุกระดับ มีข้อมูลการเฝ้าระวังการบาดเจ็บ (IS) ที่ครบถ้วน ถูกต้อง และมีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการพัฒนาร่วมกับหน่วยงานอื่น KPI มีระบบฟื้นฟูผู้บาดเจ็บเมื่อพ้นวิกฤตที่มีประสิทธิภาพ 3.การพัฒนาระบบส่งต่อที่มีคุณภาพไร้รอยต่อ 4. การพัฒนาระบบฟื้นฟูผู้บาดเจ็บเมื่อพ้นวิกฤตที่มีประสิทธิภาพ 1.โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการเฝ้าระวังการบาดเจ็บ จำนวน 33,700 บาท 2.โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้บาดเจ็บก่อนถึง รพ. (Pre-hospital) จำนวน 99,900 บาท 3.โครงการพัฒนาศักยภาพบุคาลากรในการดูแลผู้บาดเจ็บในเครือข่ายบริการ จ.อุตรดิตถ์ จำนวน 55,900 บาท งบประมาณ 189,500 บาท Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน

  6. * แก้ปัญหาปี 2556 โดยเชื่อมโยงกับงานอนามัยแม่และเด็กทั้งจังหวัดเน้นการฝากครรภ์และการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ * มีจัดอบรม neonatal transport service, follow up program for high risk newborn, universal hearing screening สาขาที่ 4 ทารกแรกเกิด เป้าประสงค์ที่ 3,4 เป้าประสงค์ที่ 1 เป้าประสงค์ที่ 2 1. บูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อ พัฒนาระบบการดูแลทารกแรกเกิดปกติ และทารกเกิดจากมารดากลุ่มเสี่ยงต่อการคลอดก่อน 2. พัฒนาความรู้ ความสามารถของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในแต่ละระดับสถานบริการ KPI * การอบรมพัฒนาศักยภาพ เช่น newborn CPR * ปรับปรุงตึก NICU 3. พัฒนาระบบสารสนเทศ ระบบการส่งต่อเพื่อการจัดการและบริการที่มีประสิทธิภาพ 4.เสริมสร้างภาคีเครือข่าย 4.โครงการฝากครรภ์คุณภาพและการประเมินหญิงตั้งครรภ์กลุ่มเสี่ยงเพื่อการส่งต่อ จำนวน 36,440 บาท 2.โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรดูแลทารกระหว่างการส่งต่อด้วยความปลอดภัย จำนวน 10,000 บาท 1.โครงการศึกษาดูงานอนามัยหญิงตั้งครรภ์และงานห้องคลอดโรงพยาบาลลำพูน จำนวน 32,750 บาท 3.โครงการ การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะน้ำเดินก่อนกำหนด จำนวน 30,590 บาท 6โครงการประชุมเครือข่ายทารกแรกเกิดโรงพยาบาลอุตรดิตถ์ จำนวน 21,885 บาท 5.โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการช่วยฟื้นคืนชีพทารกแรกเกิด จำนวน 39,240 บาท งบประมาณ 170,905 บาท Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน

  7. 1.มาตรฐานการบริการ 4.ลดอัตราตาย สาขาที่ 5 ด้านสุขภาพจิตและจิตเวช ยุทธศาสตร์ที่ 3,4 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 1. พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชให้ได้มาตรฐาน และมีประสิทธิภาพ 2. พัฒนาการให้บริการตามมาตรฐานงานสุขภาพจิตและจิตเวชในทุกระดับ โดยส่งเสริมการผลิต แลกเปลี่ยน และพัฒนาบุคลากรให้เหมาะสมต่อการบริการ 2.เข้าถึงบริการ 3.ลดอัตราป่วย KPI 5.ลดค่าใช้จ่าย 3.พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและบริการสุขภาพจิตที่มีประสิทธิภาพ 4.เสริมสร้างภาคีเครือข่ายสุขภาพจิต โครงการพัฒนาการดำเนินงานสุขภาพจิตและจิตเวช จังหวัดอุตรดิตถ์ ปี 2557 งบประมาณ 428,185 บาท Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน

  8. คัดกรองโรคต้อกระจกในประชาชนคัดกรองโรคต้อกระจกในประชาชน • อายุ 60 ปีขึ้นไปอย่างน้อยร้อยละ 75 • การคัดกรองการเกิดโรคไต • ในประชากรกลุ่มเสี่ยง สาขาที่ 6 จักษุและไต ตัวชี้วัดด้านไต ตัวชี้วัดด้านจักษุ ตัวชี้วัดด้านจักษุ 1. ความครอบคลุมในการคัดกรองเบาหวานขึ้นจอประสาทตา (%) 2.ผู้ป่วย PDR หรือ CSME ได้รับการรักษาด้วย laser ภายใน 30 วัน (%) 3.อัตราการคัดกรอง วัดสายตา (VA) ในประชากร ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป (%) - blinding cataract ได้รับการผ่าตัด ภายใน 30 วัน - low vision cataract ได้รับการผ่าตัดภายใน 90 วัน KPI การเข้าถึงบริการทดแทนไต * การชะลอการเสื่อมของไต 1.มี CKD Clinic ตั้งแต่ระดับ F1 ขึ้นไป ภายใน ปี 2557 2. คิวบริการ HD มีบริการอย่างไม่มีคิวภายใน 3 ปี 3. ลดจำนวนผู้ป่วยไตวายที่ต้องบำบัดทดแทนไต 4. ลดจำนวนผู้ป่วยไตวายเรื้อรังรายใหม่ ด้านจักษุ : โครงการพัฒนาการตรวจคัดกรองตาต้อกระจก จำนวน 130,000 บาท ด้านไต : โครงการพัฒนาระบบโรคไต จำนวน 70,000 บาท งบประมาณ 200,000 บาท Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน

  9. 1. ผู้ป่วยผ่าตัดคลอดบุตร ในรพช.เพิ่มขึ้น 2. ผู้ป่วยที่ต้องการผ่าตัดไส้ติ่งอักเสบ/ ไส้เลื่อน ใน รพช. เพิ่มขึ้น สาขาที่ 7 ด้าน 5 สาขาหลัก (สูติ ศัลย์ อายุรกรรม กุมาร ออร์โธปิดิกส์) 4. เพิ่มการ Refer ผู้ป่วยกลับไป รพช. ใกล้บ้านในpt .โรคเรื้อรัง/นอนนาน เป้าหมายที่ 5,6 เป้าหมายที่ 1,2 เป้าหมายที่ 3,4 1. พัฒนาพัฒนาการดูแลรักษาผู้ป่วยผ่าตัดคลอดบุตร (สูติกรรม) 2. ฟื้นฟูการบริการด้านศัลยกรรมในโรงพยาบาลชุมชน 3. พัฒนารพช. สามารถดูแลผู้ป่วย Stoke และ Head Injuryได้ (ด้านศัลยกรรม) 4. ขยายขอบเขตการให้บริการผู้ป่วยโรคทางอายุรกรรม ไปยัง รพช. 3. การ D/C pt .ที่พร้อมกลับภายใน 7 วันจากรพศ. ไป รพช. / จำนวนวันนอนเฉลี่ยน้อยกว่า 7 วัน ในรพศ.อต. 5. การเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยDHF.(กุมาร)ที่ส่งต่อจากรพช.=0 6. การส่งกลับผู้ป่วยศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ดูแลต่อใน รพช. เพิ่มขึ้น KPI 5.พัฒนา รพช.ในการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก ในพื้นที่(ด้านกุมาร) 6.พัฒนาดูแลผู้ป่วยศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ระหว่างส่งต่อ ด้านศัลยกรรม: - 2 โครงการ - ใช้งบ 84,680 บาท ด้านอายุรกรรม: - 2 โครงการ - ใช้งบ 98,240 บาท ด้านสูติกรรม : - 2 โครงการ - ใช้งบ 100,000บาท ด้านกุมารเวชกรรม: - 2 โครงการ - ใช้งบ 39,990 บาท ด้านออร์โธปิดิกส์: - 1 โครงการ - ใช้งบ 40,000 บาท งบประมาณ 362,910 บาท Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน

  10. 1.อัตราฟันผุในเด็ก 3 ปี 3.พัฒนาสถานบริการทุกระดับให้มีศักยภาพในการให้บริการ ด้านทันตกรรม สาขาที่ 8 กลุ่มบริการทันตกรรม ตัวชี้ดที่ 4,5 ตัวชี้วัดที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 2,3 1.เด็กอายุ 3 ปี มีอัตราฟันผุไม่เกิน ร้อยละ 57 2.เด็กอายุ 12 ปี มี สภาวะปราศจากฟันผุ มากกว่าร้อยละ 45 3.รพ.สต./ศสม. ที่ให้บริการสุขภาพช่องปากที่มีคุณภาพ ร้อยละ 50 2.สภาวะปราศจากฟันผุ ในเด็ก 12 ปี KPI 4.ทุกสถานบริการมีระยะเวลารอคอยใส่ฟันเทียมของผู้สูงอายุ ไม่เกิน 6เดือน 4. พัฒนาศักยภาพสถานบริการระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ 5. ลดระยะเวลารอคอยใส่ฟันเทียมผู้สูงอายุ โครงการแก้ไขปัญหาทันตสาธาณสุข Service Plan สาขาทันตกรรมเครือข่ายบริการสุขภาพ เขต 2 ปี 2557 งบ 200,000 บาท(งบ สป.ตาม ผ./ก.) โครงการสนับสนุนการดำเนินงานทันตสาธารณสุขระดับจังหวัด ปี 2557 งบ 92,360 บาท(งบPPD.) Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน

  11. 1.ผู้พิการทางการเคลื่อนไหว(ขาขาด) ได้รับบริการครบถ้วน 3.ผู้ป่วย stroke หรือ โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต สาขาที่ 9 ด้านเวชกรรมฟื้นฟู เป้าประสงค์ที่ 3 เป้าประสงค์ที่ 1 เป้าประสงค์ที่ 2 • พัฒนาระบบบริการฟื้นฟู • รวมทั้งการให้การปรึกษาและการส่งต่อ 1 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้านเวชกรรมฟื้นฟู 2.ผู้ป่วยที่มีความพิการทางการเคลื่อนไหวอื่นๆ KPI 4.กลุ่มผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 3. พัฒนาระบบบริการเวชกรรมฟื้นฟูในชุมชน โครงการพัฒนาระบบบริการด้านเวชกรรมฟื้นฟูจังหวัดอุตรดิตถ์ ปี 2557 จำนวน 60,000 บาท Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน งบประมาณ 60,000 บาท (งบ สป.ตาม ผ./ก.)

  12. 1. การพัฒนาการให้บริการทางห้องปฏิบัติการ 4. การพัฒนาระบบส่งต่อ 5. การพัฒนาระบบสารสนเทศ สาขาที่ 9 ด้านชันสูตร เป้าประสงค์ที่ 3 เป้าประสงค์ที่ 1 เป้าประสงค์ที่ 2 • พัฒนาศักยภาพการให้บริการทางห้องปฏิบัติการ 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้านเวชกรรมฟื้นฟู 2. การพัฒนาระบบคุณภาพและมาตรฐาน 3. การพัฒนาบุคลากร KPI 6.การพัฒนาตามนโยบายลดต้นทุน 3. พัฒนาระบบบริการเวชกรรมฟื้นฟูในชุมชน 3.โครงการอบรมแนวทางการตรวจประเมินห้องปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข จำนวน 18,450 บาท 1.โครงการควบคุมคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ จำนวน 103,250 บาท 2.โครงการควบคุมคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ จำนวน 103,250 บาท งบประมาณ 140,000 บาท Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน

  13. 2. บุคลากรมีสมรรถนะเหมาะสม สาขาที่ 9 ด้านแพทย์แผนไทย เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 1.ปรับระบบบริการการแพทย์แผนไทย ให้ได้มาตรฐาน 2. พัฒนาบุคลากรการแพทย์แผนไทย ให้มีความรู้ ความมั่นใจ อย่างมีศักดิ์ศรี 1.คลินิกบริการแพทย์แผนไทย KPI 3.ระบบยาที่เอื้อต่อการจัดบริการแพทย์แผนไทย 3.ส่งเสริมการผลิตยาแผนไทยและพัฒนาระบบยาแผนไทยให้ได้มาตรฐาน โครงการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ปี ๒๕๕๗ งบประมาณ 200,000 บาท (งบ สปสช.) Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน

  14. 1.พัฒนาระบบการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง / การคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย 4.พัฒนาศักยภาพ จนท.สธ.ในด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม(Coacher) สาขาที่ 10 โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(ncd) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค โดยการจัด บริการอย่างมีคุณภาพและการมีส่วนร่วม ของภาคีเครือข่าย KPI 2.พัฒนาศักยภาพ อสม.ในการคัดกรอง/ สนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย 3.พัฒนาระบบฐานข้อมูล 5.พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ การบริหารจัดการด้านสุขภาพ โครงการบูรณาการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จ.อุตรดิตถ์ ปี 2557 Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน งบประมาณ 200,000 บาท

  15. ผู้พิการผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านติดเตียงได้รับการเยี่ยมบ้านผู้พิการผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านติดเตียงได้รับการเยี่ยมบ้าน พัฒนาศักยภาพการให้บริการ ในการเขตเมือง /หน่วยบริการปฐมภูมิมีศักยภาพในการบริการประชาชนตามเกณฑ์มาตรฐาน สาขาที่ 11 บริการเขตเมืองและปฐมภูมิ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ที่ 1,2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 3.บริหารจัดการทรัพยากรบุคคลให้เหมาะสมเพียงพอ และพัฒนาระบบการจัดการความรู้ 1.พัฒนาศักยภาพ หน่วยบริการปฐมภูมิ อย่างสอดคล้องกับบริบทและความต้องการ 2.พัฒนาโครงสร้างและการบริหารจัดการในรูปแบบเครือข่ายที่ชัดเจน KPI หน่วยบริการปฐมภูมิผ่านการประเมินคุณภาพบริการโดยทีมสหวิชาชีพและผ่านมาตรฐานบริการตามวิชาชีพ พัฒนามาตรฐานทีมสหวิชาชีพในการ ให้การพยาบาลในชุมชน 4.พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินภารกิจ และการบริหารจัดการ โครงการสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตเมืองและปฐมภูมิ จังหวัดอุตรดิตถ์ ปี ๒๕๕๗ งบประมาณ 250,000 บาท(งบ PPD.) Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน

  16. ปัจจัยความสำเร็จ / ปัญหาอุปสรรค ผู้บริหารฯ จังหวัด/อำเภอ ให้ความสำคัญ นโยบายกระทรวงฯ /เน้นขับเคลื่อนทุกระดับ ปัจจัยความสำเร็จ แนวทางการจัดสรรงบจากเขตฯ (ไม่ชัดเจน) คณะทำงานฯ ประธาน/เลขาฯ ระดับจังหวัด ปัญหาอุปสรรค ด้านกำลังคนไม่เพียงพอ ตามภารงาน (ปัจจุบันมีตามGIS) การนำแผนสู่การปฏิบัติ(Implement) /ศักยภาพ รพ. และคน รองรับพัฒนาตามแผนฯ งบลงทุนตามแผนฯ (ปัญหาความเป็นไปได้ของแผนฯ)

  17. สวัสดี

More Related