1 / 22

หน่วยที่ 4 การวางแผนทางด้านราคาและการจัดจำหน่าย

MARKETING STRATEGIES AND PLANS. หน่วยที่ 4 การวางแผนทางด้านราคาและการจัดจำหน่าย. บรรยายโดย......ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ BBA (Marketing), MBA (Marketing). กลยุทธ์ทางด้านราคา จุดประสงค์ 4.1 เข้าใจกลยุทธ์ทางด้านราคา - ทราบวัตถุประสงค์ของการตั้งราคา

reece
Download Presentation

หน่วยที่ 4 การวางแผนทางด้านราคาและการจัดจำหน่าย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. MARKETING STRATEGIES AND PLANS หน่วยที่ 4 การวางแผนทางด้านราคาและการจัดจำหน่าย บรรยายโดย......ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ BBA (Marketing), MBA (Marketing)

  2. กลยุทธ์ทางด้านราคา จุดประสงค์ 4.1 เข้าใจกลยุทธ์ทางด้านราคา - ทราบวัตถุประสงค์ของการตั้งราคา - ทราบความสัมพันธ์ของราคา - คุณภาพ - เข้าใจการแบ่งตลาดในการตั้งราคา - สามารถกำหนดกลยุทธ์ด้านราคาได้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  3. ราคา(Price) หมายถึง มูลค่า (Value) ของสินค้าหรือบริการที่ผู้บริโภคยินดี ที่จะจ่าย ในการกำหนดราคาของนักการตลาดนั้นจะมีมุมมองที่ไม่เหมือน กับนักบัญชีหรือนักการเงิน นักบัญชี จะมองเรื่องต้นทุนเป็นหลัก แล้วต้องการกำไรเท่าไร ก็จะมากำหนด เป็นราคาขาย นักการตลาด ต้องศึกษาผู้บริโภคก่อน แล้วกำหนดราคาขาย แล้วจึงมาทำการ กำหนดต้นทุนที่ยอมรับได้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  4. วัตถุประสงค์ของการตั้งราคาวัตถุประสงค์ของการตั้งราคา • เพื่อให้ได้ผลตอบแทนที่คุ้มค่าจาการลงทุน • เพื่อขยายส่วนแบ่งทางการตลาด • เพื่อรักษาตำแหน่งทางการตลาด • เพื่อเผชิญหน้ากับการแข่งขัน • เพื่อแสวงหาผลกำไรสูงสุด • เพื่อสร้างภาพพจน์องค์กร ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  5. ความสัมพันธ์ของราคา - คุณภาพ ราคา (Price) กลาง สูง ต่ำ สูง กลาง คุณภาพ (Quality) ต่ำ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  9. การแบ่งตลาดในการตั้งราคาการแบ่งตลาดในการตั้งราคา • การตั้งราคาสำหรับตลาดที่เน้นราคา (Price Sensitive Market) • การตั้งราคาสำหรับตลาดที่เน้นภาพพจน์ (Image Sensitive Market) • การตั้งราคาสำหรับตลาดที่เน้นคุณภาพ (Quality Sensitive Market) ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  10. การตั้งราคาสำหรับตลาดที่เน้นราคา (Price Sensitive Market) • กลยุทธ์การตั้งราคาแบบนี้ • มักใช้กับสินค้าที่ไม่แตกต่างกันมากนัก • ปัจจัยอื่น ๆ ไม่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ นอกจากราคา • ผู้บริโภคมีความรู้ในตัวสินค้าดีอยู่แล้ว • ไม่มีความรีบร้อนในการซื้อ รอเวลาซื้อได้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  11. การตั้งราคาสำหรับตลาดที่เน้นภาพพจน์ (Image Sensitive Market) • กลยุทธ์การตั้งราคาแบบนี้ • มักใช้กับสินค้าที่มีชื่อเสียง • ผู้ซื้อนำไปใช้เสริมสร้างบุคลิกภาพมากกว่าประโยชน์สินค้า • กลยุทธ์ที่ใช้คือเน้นสินค้าคุณภาพสูงกว่า ราคาสูงกว่า • เน้นความแตกต่างของสินค้าประเภทเดียวกัน • มักเป็นสินค้าระดับสูงในสินค้าประเภทเดียวกัน • ตลาดนี้ทำกำไรได้มาก • ต้องสร้างภาพพจน์ของสินค้า มีเอกลักษณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  12. การตั้งราคาสำหรับตลาดที่เน้นคุณภาพ (Quality Sensitive Market) • กลยุทธ์การตั้งราคาแบบนี้ • มักใช้กับสินค้าที่ผู้บริโภคยินดีจ่ายเพื่อให้ได้สินค้าคุณภาพ • สินค้าจะเห็นได้อย่างชัดเจนแตกต่างจากสินค้าที่ด้อยคุณภาพ • ตลาดนี้ต้องมีการ R & D พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความแตกต่าง • สื่อสารให้ผู้บริโภคทราบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  13. กลยุทธ์ด้านราคา • กลยุทธ์ระดับราคา • กลยุทธ์ราคาเดียว กับ ราคาที่แตกต่าง • กลยุทธ์การตั้งราคาตามวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ • กลยุทธ์การตั้งราคาตามหลักจิตวิทยา • กลยุทธ์การตั้งราคาเพื่อขยายสายผลิตภัณฑ์ • กลยุทธ์การตั้งราคาเพื่อการขยับตัวสูงขึ้น • กลยุทธ์การตั้งราคาด้านขนาด • กลยุทธ์การตั้งราคาเพื่อการส่งเสริมการตลาด ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  14. กลยุทธ์ระดับราคา • การตั้งราคาตามตลาด (Ongoing Price) หรือ (Market Price) • การตั้งราคาต่ำกว่าราคาตลาด (Fighting Price) หรือ (Lower Market Price) • การตั้งราคาสูงกว่าราคาตลาด (Premium Price) หรือ (Upper Market Price) ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  15. กลยุทธ์ราคาเดียวกับราคาที่แตกต่างกลยุทธ์ราคาเดียวกับราคาที่แตกต่าง • กลยุทธ์ราคาเดียว (One Price Strategy) • กลยุทธ์ราคายืดหยุ่นได้ (Flexible Price Strategy) • กลยุทธ์ราคาที่แตกต่าง (Differentiated Price Strategy) • แตกต่างตามฤดูกาล • แตกต่างตามจำนวนสินค้า • แตกต่างตามสถานที่ • แตกต่างตามลูกค้า • แตกต่างตามรุ่นสินค้า ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  16. กลยุทธ์การตั้งราคาตามวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์กลยุทธ์การตั้งราคาตามวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ • การตั้งราคาแบบราคาสูงพิเศษ (Skimming Price Strategy) • การตั้งราคาแบบเจาะตลาด (Penetration Price Strategy) ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  17. กลยุทธ์การตั้งราคาตามหลักจิตวิทยากลยุทธ์การตั้งราคาตามหลักจิตวิทยา • การตั้งราคาแบบเลขคี่ (Odd Price) เช่น 49, 59, 99,199 • การตั้งราคาสูงพิเศษ (Premium Price) • การตั้งราคาแบบกลุ่ม (Group Price) เช่น เสื้อยืดคอกลม 100 คอปก 200 • การตั้งราคาตามความเคยชิน (Traditional Price) ขึ้นราคายาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  18. กลยุทธ์การตั้งราคาเพื่อขยายสายผลิตภัณฑ์กลยุทธ์การตั้งราคาเพื่อขยายสายผลิตภัณฑ์ • กลยุทธ์ขยับขึ้น (Trickle Up) เช่น Saloon เป็น Super Saloon • กลยุทธ์ขยับลง (Trickle Down) เช่น Corona --> Corola --> Soluna • กลยุทธ์การออกสินค้าพร้อมกัน (Trickle Across) เช่น มือถือหลาย ๆ รุ่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  19. กลยุทธ์การตั้งราคาเพื่อขยับซื้อขึ้นสูง หรือ ต่ำลง • การขยับซื้อสูงขึ้น (Trading Up) • การขยับซื้อต่ำลง (Trading Down) Celeron Pentium 4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  20. กลยุทธ์ราคาด้านขนาด (Size) ใช่ความแตกต่างด้านขนาดกับคู่แข่งขันเป็นตัวกำหนดราคาให้แตกต่าง เช่น คู่แข่งมีขนาดเล็ก เราผลิตให้ใหญ่กว่าเล็กน้อย แล้วขายสูงกว่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  21. กลยุทธ์การตั้งราคาเพื่อการส่งเสริมการขายกลยุทธ์การตั้งราคาเพื่อการส่งเสริมการขาย • กลยุทธ์ราคาขาดทุน (Loss Leader Pricing) • กลยุทธ์การตั้งราคาตามเหตุการณ์พิเศษ (Special event pricing) • กลยุทธ์การคืนเงิน (Cash rebate) • กลยุทธ์การคืนกำไร (Profit return) • กลยุทธ์การยืดเวลาจ่ายเงิน (Longer payment term) • กลยุทธ์อัตราดอกเบี้ยต่ำ (Low interest financing) • กลยุทธ์อ่อยเหยื่อ (Baiting pricing) • กลยุทธ์ราคาเปรียบเทียบ (Comparison pricing) • กลยุทธ์ส่วนลด (Discount) ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพล สังฆโสภณ

  22. MARKETING STRATEGIES AND PLANS Q & A

More Related