1 / 18

จัดทำโดย นางสาวกมลพรรณ ปานมาก รหัสนิสิต 56010002 คณะพยาบาลศาสตร์

กำเนิดระบบสุริยะ. จัดทำโดย นางสาวกมลพรรณ ปานมาก รหัสนิสิต 56010002 คณะพยาบาลศาสตร์. ระบบสุริยะเกิดจากกลุ่มฝุ่นและก๊าซในอวกาศซึ่งเรียกว่า “โซ ลาร์ เนบิวลา” ( Solar Nebula) รวมตัวกันเมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีมาแล้ว .

Download Presentation

จัดทำโดย นางสาวกมลพรรณ ปานมาก รหัสนิสิต 56010002 คณะพยาบาลศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กำเนิดระบบสุริยะ จัดทำโดย นางสาวกมลพรรณ ปานมาก รหัสนิสิต 56010002 คณะพยาบาลศาสตร์

  2. ระบบสุริยะเกิดจากกลุ่มฝุ่นและก๊าซในอวกาศซึ่งเรียกว่า “โซลาร์เนบิวลา” (Solar Nebula) รวมตัวกันเมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีมาแล้ว 

  3. แรงโน้มถ่วงที่ใจกลางสร้างแรงกดดันมากทำให้ก๊าซมีอุณหภูมิสูงพอที่จุดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน หลอมรวมอะตอมของไฮโดรเจนให้เป็นฮีเลียม  ดวงอาทิตย์จึงถือกำเนิดเป็นดาวฤกษ์  

  4.  วัสดุชั้นรอบนอกของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิต่ำกว่า ยังโคจรไปตามโมเมนตัมที่มีอยู่เดิม รอบดวงอาทิตย์เป็นชั้นๆ   มวลสารของแต่ละชั้นพยายามรวมตัวกันด้วยแรงโน้มถ่วง  ด้วยเหตุนี้ดาวเคราะห์จึงถือกำเนิดขึ้นเป็นรูปทรงกลม เนื่องจากมวลสารพุ่งใส่กันจากทุกทิศทาง    

  5. องค์ประกอบของระบบสุริยะองค์ประกอบของระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์ (The Sun)

  6. ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)

  7. ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)

  8. ดวงจันทร์บริวาร (Satellites)

  9. ดวงจันทร์ส่วนใหญ่  จะหมุนรอบตัวเองในทิศทวนเข็มนาฬิกา  และโคจรรอบดวงทิตย์ในทิศทวนเข็มนาฬิกาเช่นกันหากมองจากด้านข้างของระบบสุริยะ

  10. ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf Planets)

  11. ดาวเคราะห์น้อย  (Asteroids)

  12. ดาวหาง (Comets)

  13. วัตถุในแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Objects) 

  14. Smallest Kuiper Belt objectวัตถุขนาดเล็ก ในแถบไคเปอร์

  15. Kuiper belt object (KBO) วัตถุในแถบไคเปอร์ เปรียบเทียบขนาดกับโลก

  16. เมฆออร์ท (Oort Cloud)

  17. เมฆออร์ท (Oort Cloud)เป็นสมมติฐานที่ตั้งขึ้นโดยนักดาราศาสตร์ชาวเนเธอร์แลนด์ชื่อ แจน ออร์ท (Jan Oort) ซึ่งเชื่อว่า ณ สุดขอบของระบบสุริยะ รัศมีประมาณ 50,000 AU จากดวงอาทิตย์  ระบบสุริยะของเราห่อหุ้มด้วยวัสดุก๊าซแข็ง ซึ่งหากมีแรงโน้มถ่วงจากภายนอกมกระทกระเทือน   ก๊าซแข็งเหล่านี้ก็จะหลุดเข้าสู่วงโคจรรอบดวงอาทิตย์ กลายเป็นดาวหางวงโคจรคาบยาว (Long-period   comets)

  18. อ้างอิง http://portal.edu.chula.ac.th

More Related