1 / 26

การเตรียมความพร้อมในการปฎิบัติตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐

การเตรียมความพร้อมในการปฎิบัติตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐. อ.วีระชัย บุญปก : 081-8764701. สถิติการใช้งานอินเตอร์เน็ต. http://internet.nectec.or.th/. ความเสียหายที่พบขึ้นจริง. ความไม่สงบที่พบ.

ralph-fox
Download Presentation

การเตรียมความพร้อมในการปฎิบัติตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเตรียมความพร้อมในการปฎิบัติตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐ อ.วีระชัย บุญปก : 081-8764701

  2. สถิติการใช้งานอินเตอร์เน็ตสถิติการใช้งานอินเตอร์เน็ต http://internet.nectec.or.th/

  3. ความเสียหายที่พบขึ้นจริงความเสียหายที่พบขึ้นจริง

  4. ความไม่สงบที่พบ กระทรวงไอซีทีเชือด “แคมฟร็อก” ปิดเกตเวย์เน็ตสกัดวัยโจ๋โชว์ออฟ ประเทศไทยเล่นแคมฟร็อกอันดับ 1ของโลก ประเทศไทยเล่นHi5 อันดับ2 ของโลก หลวงพี่แห่โชว์รูป เว็บhi5 จีบสาวหวานแหวว สถิติจากหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ

  5. การบังคับใช้ของพ.ร.บ. • มีทั้งหมด ๓๐ มาตราแบ่งเป็น ๒ หมวดได้แก่ • หมวด ๑ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ • หมวด ๒พนักงานเจ้าหน้าที่ • ประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาแล้ว เมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐ • บังคับใช้ ๑ เดือนหลังจากประกาศ คือวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๐ • องค์กรจะต้องมีความพร้อมภายใน ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๑

  6. ภาพกว้างของโครงสร้างพ.ร.บ.ภาพกว้างของโครงสร้างพ.ร.บ.

  7. ภาพกว้างของโครงสร้างพ.ร.บ.(ต่อ)ภาพกว้างของโครงสร้างพ.ร.บ.(ต่อ) กระทำต่อคอมพิวเตอร์ ใช้คอมพิวเตอร์กระทำความผิด ผู้ให้บริการ ม.๕: การเข้าถึงระบบคอมฯ ม.๖: การล่วงรู้มาตรการการป้องกันการเข้าถึง ม.๗: การเข้าถึงข้อมูลคอมฯ ม.๘: การดักรับข้อมูลคอมฯ ม.๙: การรบกวนข้อมูลคอมฯ ม.๑๐: การรบกวนระบบคอมฯ ม.๑๓: การจำหน่าย/ เผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อใช้กระทำความผิด ม.๑๑: Spam mail ม.๑๔: การปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์/เผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสมลามก ม.๑๕: ความรับผิดของผู้ให้บริการ ม.๑๖: การเผยแพร่ภาพจากการตัดต่อ/ดัดแปลง ม.๒๖: เก็บข้อมูลจราจร ๙๐ วันไม่เกิน ๑ ปี ม.๒๗: ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งพนักงานเจ้าหน้าที่หรือคำสั่งศาลระวางโทษปรับ 500,000 (ห้าแสนบาท) ต่อกรณีที่ไม่สามารถหาผู้กระทำความผิดในเครือข่ายที่รับผิดชอบนั้นได้

  8. บทกำหนดโทษ

  9. บทกำหนดโทษ

  10. ข้อมูลที่น่าสนใจ สิ่งอันลามก คือ น่าอับอายในทางเพศต่อตา น่าอุจาดบัดสี ตรงกันข้ามกับสิ่งที่เป็นศิลปะอันแสดงถึงความงามและฝีมือของศิลปิน ศิลปะหรือลามกพิจารณาตามความรู้สึกของวิญญูชนผู้มิใช่เคร่งต่อจารีตประเพณีโดยไม่ยอมเปลี่ยนแปลงไปตามสมัยของโลกรูปหญิงเปลือยกาย เห็นเด่นชัดเฉพาะถัน ส่วนโยนีถูกระบายให้ลบเลือนเห็นเพียงฐาน แสดงสุขภาพอนามัยของการอาบแดด สอนวิธีเขียนส่วนสัดความงามของร่างกาย ไม่น่าเกลียดอุจาดบัดสีที่นิยมนำไปสู่ความใคร่ทางกามารมณ์ ไม่เป็นลามกอนาจาร (ฎีกาที่ ๙๗๘/๒๔๙๒ ฎ.๖๗๕) ภาพสตรีแสดงส่วนสัดความสมบูรณ์ของร่างกายที่ไม่มีสิ่งปกปิด ส่วนล่างพยายามปกปิดหรือทำเป็นเพียงเงาๆ ลบเลือนให้เป็นอวัยวะที่ราบเรียบแล้วไม่มีลักษณะน่าเกลียด น่าอุจาดบัดสี ไม่เป็นภาพลามกตามมาตรานี้ (ฎีกาที่ ๑๒๒๓/๒๕๐๘ ฎ.๑๙๓๖) Source : กฎหมายอาญา ภาค ๒ ตอน ๑ ศ.จิตติ ติงศภัทิย์ สำนักอบรมศีกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา • ลามก หมายความว่า

  11. พรบ. คอมพิวเตอร์ พ . ศ . 2550 ฉบับย่อ เข้าใจง่าย 1.  เจ้าของไม่ให้เข้าระบบคอมพิวเตอร์ของเขา แล้วเราแอบเข้า ไป ... เจอ คุก 6 เดือน 2.  แอบไปรู้วิธีการเข้าระบบคอมพิวเตอร์ของชาวบ้าน แล้วเที่ยวไป โพนทะนาให้คน อื่นรู้ ... เจอคุกไม่เกินปี 3.  ข้อมูลของเขา เขาเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ดี ๆ แล้วแอบไปล้วง ของ เขา ... เจอคุกไม่เกิน 2 ปี 4.  เขาส่งข้อมูลหากันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบส่วนตัวส่วนตัว แล้วเรา ทะลึ่งไปดักจับข้อมูลของเขา ... เจอคุกไม่เกิน 3 ปี 5.  ข้อมูลของเขาอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของเขาดี ๆ เราดันมือบอน ไปโมมันซะ งั้น ... เจอคุกไม่เกิน 5 ปี ที่มา จาก FW mail

  12. พรบ. คอมพิวเตอร์ พ . ศ . 2550 ฉบับย่อ เข้าใจง่าย (ต่อ 1) 6.  ระบบคอมพิวเตอร์ของชาวบ้านทำงานอยู่ดี ๆ เราดันยิง packet หรือ message หรือ virus หรือ trojanหรือ worm หรือ เข้าไป ก่อกวนจนระบบเขาเดี้ยง ... เจอคุกไม่เกิน 5 ปี 7.  เขาไม่ได้อยากได้ข้อมูลหรืออีเมลล์จากเราเลย เราก็ทำตัวเป็นอี แอบเซ้าซี้ ส่งให้เขาซ้ำ ๆ อยู่นั่นแหล่ะ จนทำให้เขาเบื่อหน่าย รำคาญ ... เจอปรับไม่ เกินหนึ่งแสนบาท 8.  ถ้าเราทำผิดข้อ 5. กับ ข้อ 6. แล้วสร้างความพินาศใหญ่โตใน ระดับรากหญ้า งานนี้มีซวยแน่ เจอคุกสิบปีขึ้น 9.  ถ้าเราสร้างซอฟต์แวร์เพื่อช่วยให้ใคร ๆ ทำเรื่องแย่ ๆ ในข้อ ข้างบน ๆ ได้ ... เจอคุกไม่เกินปีหนึ่ง เหมือนกัน 10. โป๊ก็โดน, โกหกก็โดน, ท้าทายอำนาจรัฐก็โดน ... เจอคุกไม่ เกิน 5 ปี ที่มา จาก FW mail

  13. พรบ. คอมพิวเตอร์ พ . ศ . 2550 ฉบับย่อ เข้าใจง่าย (ต่อ 2) 11. ใครเป็นเจ้าของเว็บ แล้วสนับสนุน/ยอมให้เกิดข้อ 10. โดน เหมือนกัน..เจอคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ เท่ากับคนที่ทำเลย 12. ใครอยากเป็นศิลปินข้างถนน ที่ชอบเอารูปชาวบ้านมาตัดต่อ แล้วเอาไปโชว์ผลงานบนระบบคอมพิวเตอร์ให้ใครต่อใครดู เตรียมใจไว้เลยมีสิทธิ์โดน…เจอคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่ เกิน 60,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ที่มา จาก FW mail

  14. ผลกระทบต่อผู้ให้บริการ ฉบับย่อ เข้าใจง่าย ผู้ให้บริการอาจจะเป็นท่าน หรือหน่วยงานของท่าน ผู้ให้บริการ มีหน้าที่และสิ่งที่ต้องทำมากกว่าบุคคลทั่วไป สิ่งที่ท่านต้องเข้าใจ คือ • ผู้ให้บริการ • Internet Service Provider (ISP) • ผู้ดูแลเว็บ หรือ หน่วยงานที่มีการจัดบริการออนไลน์ • สถานศึกษา หน่วยงานราชการ เจ้าของร้านอินเทอร์เน็ต เจ้าของเว็บไซต์ รวมทั้งเจ้าของเว็บ • บอร์ด

  15. ข้อมูลที่น่าสนใจ • ข้อมูลจราจรด้านคอมพิวเตอร์หมายความว่า • ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น • ข้อมูลจราจรต้องเก็บอะไรบ้าง • ข้อมูลที่ต้องเก็บคือ เก็บข้อมูลจราจรที่สามารถระบุผู้ใช้บริการเป็นรายบุคคลได้ • ผู้ให้บริการประเภท ข. (ผู้ให้บริการการเข้าถึงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Access ServiceProvider) ต้องเก็บ ...

  16. ผู้บริการประเภท ข. จะต้องเก็บ

  17. ผู้บริการประเภท ข. จะต้องเก็บ (ต่อ)

  18. ผู้บริการประเภท ข. จะต้องเก็บ (ต่อ)

  19. ผู้บริการประเภท ข. จะต้องเก็บ (ต่อ)

  20. ผู้บริการประเภท ข. จะต้องเก็บ (ต่อ)

  21. ผู้บริการประเภท ข. จะต้องเก็บ (จบ)

  22. จะเริ่มต้นเตรียมความพร้อมอย่างไรจะเริ่มต้นเตรียมความพร้อมอย่างไร • สำรวจโครงสร้างของระบบสารสนเทศ (ตั้งคำถามกับตัวเอง เช่น เราสามารถพิสูจน์ทราบตัวตนของผู้ใช้ระบบสารสนเทศได้หรือเปล่า) • เตรียมแหล่งข้อมูลจราจร เนื้อหาและเครื่องมือที่จะใช้ในการจัดเก็บโดยการ enable จัดหา หรือติดตั้งเพิ่ม • Synchronize เวลา ต้องเป็นเวลาเดียวกัน • กำหนด Policy และ Process ในการเข้าถึงข้อมูล

  23. จะเริ่มต้นเตรียมความพร้อมอย่างไร (ต่อ) • ให้ความรู้แก่ผู้ใช้งานในระบบสารสนเทศ • สร้าง กฏข้อบังคับ • สร้าง Policy และ Process • บังคับใช้ Policy และ Process เหล่านั้น

  24. ตัวอย่างการสร้าง Awareness ที่มา – อ้างอิงมาจากเอกสารการบรรยายของ อ.กำพล ศรธนะรัตน์, สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

  25. คำถาม?

  26. END

More Related