1 / 20

ข้าราชการแห่งอนาคต

ข้าราชการแห่งอนาคต. สายใจ แจ้งชัดใจ. อ้างอิงจากงานวิจัยของสกพ. รศ. ดร.จิรประภา อัครบวร และคณะผู้ดำเนินการวิจัย, 2551. ที่มาของโครงการและกรอบการดำเนินงาน. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 ( พ.ศ. 2550–2554) ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างธรรมาภิบาล

Download Presentation

ข้าราชการแห่งอนาคต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้าราชการแห่งอนาคต สายใจ แจ้งชัดใจ

  2. อ้างอิงจากงานวิจัยของสกพ.อ้างอิงจากงานวิจัยของสกพ. รศ. ดร.จิรประภา อัครบวร และคณะผู้ดำเนินการวิจัย, 2551

  3. ที่มาของโครงการและกรอบการดำเนินงานที่มาของโครงการและกรอบการดำเนินงาน • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550–2554) • ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างธรรมาภิบาล • นโยบายรัฐบาลที่มุ่งเน้นการบริหารทรัพยากรบุคคล และการจัดองค์ประกอบภาครัฐ • วาระแห่งชาติด้านจริยธรรม ธรรมาภิบาล และการป้องกันการทุจริต และประพฤติมิชอบในภาครัฐ โดยเฉพาะยุทธศาสตร์ที่ 2 การปรับเปลี่ยนทัศนคติและพัฒนาข้าราชการ • พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 3

  4. Best Practices 15 Countries Blueprint Blueprint (Draft) ข้อเสนอแนวทาง การพัฒนา โครงการศึกษาเพื่อวางระบบการพัฒนาข้าราชการแห่งอนาคต Phase I Phase II Phase III กำหนดกรอบ การดำเนินโครงการ สำรวจความคาดหวัง ทบทวน วรรณกรรม  รัฐธรรมนูญ 2550 พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550  แผนพัฒนา ศก.และสังคม ฉบับที่ 10 (2550 – 2554)  พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน2551 ยุทธศาสตร์การพัฒนาขรก.พลเรือน 2547-2551 วาระแห่งชาติด้านจริยธรรม ธรรมภิบาล ป้องกันการทุจริต ประพฤติมิชอบในรัฐ รายงานสรุป รูปแบบ วิธีการอบรม พัฒนาฯ รายงานสรุปรูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา • Field Trips • Australia & NZ • 2 in BKK คลังข้อมูล รูปแบบ วิธีการพัฒนา รายงานสรุปการศึกษา ระบบการพัฒนาและ สภาพปัญหาของ ขรก. Focus Group

  5. โครงการศึกษาเพื่อวางระบบการพัฒนาข้าราชการแห่งอนาคตโครงการศึกษาเพื่อวางระบบการพัฒนาข้าราชการแห่งอนาคต Blueprint • คุณธรรม จริยธรรม • - ตามหลักสมรรถนะ • - มีความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง • ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง • - มีความเป็นมืออาชีพ • คำนึงถึงความเสมอภาค • มีทัศนคติที่พึงประสงค์ • พัฒนาแบบองค์รวม 5Hs • (HarmonyHead Hand Hearth • Health) หรือ พัฒนา IQ, EQ และ MQ • - มีความสามารถในการใช้ IT • มีคุณภาพชีวิตที่ดี • มีขวัญกำลังใจในการทำงาน • ระบบราชการที่มุ่งเน้นคุณภาพ • และประสิทธิภาพ • บริหารราชการตามหลักเศรษฐกิจ • พอเพียง • พัฒนาระบบราชการโดยใช้การ • กระจายอำนาจ • ระบบราชการที่มุ่งเน้นคุณธรรม • จริยธรรมและความโปร่งใส • ระบบราชการที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วม • ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ระบบราชการที่มุ่งเน้นการสื่อสาร • อย่างทั่วถึง คน (People) ระบบ (System)

  6. ระบบการพัฒนา ข้าราชการแห่งอนาคต มุ่งเน้นคุณภาพและประสิทธิภาพ บริหารราชการตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ใช้การกระจายอำนาจ มุ่งเน้นคุณธรรม จริยธรรมและความโปร่งใส มุ่งเน้นการมีส่วนรวมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มุ่งเน้นการสื่อสารอย่างทั่วถึง 6

  7. คุณสมบัติของข้าราชการแห่งอนาคต 7

  8. การพัฒนาข้าราชการ • จะดำเนินตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง • คำนึงถึงความเสมอภาค • มีการปรับทัศนคติข้าราชการ ให้มีทัศนคติที่พึงประสงค์ โดยมีผู้บังคับบัญชาเป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชามิใช่เป็นหน้าที่ของหน่วยงานที่รับผิดชอบเพียงอย่างเดียวเท่านั้น นอกจากนี้ยังรวมถึงการมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการมีคุณภาพชีวิต มีขวัญกำลังใจในการทำงาน 8

  9. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2555 ได้นำเสนอประเทศไทยภายใต้บริบทของความเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองในระดับโลก เนื่องมาจากพัฒนาการของโลกาภิวัตน์ที่ทำให้เส้นแบ่งพรมแดนระหว่างประเทศเลือนลางลง การเคลื่อนย้ายทุน แรงงาน องค์ความรู้ สินค้าและบริการต่างๆ เป็นไปอย่างเสรี 9

  10. 10

  11. พัฒนาระบบราชการ(System Development)จัดการกับระบบงาน • ต่างๆในระดับองค์การ หน่วยงาน กลุ่ม และตัวบุคคล เพื่อให้เกิด • การปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการบริหารจัดการ โดยมี • ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเข้ามา • เป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการพัฒนาระบบ ซึ่งการพัฒนาระบบข้อมูล และเทคโนโลยีสารสนเทศทุนด้านสารสนเทศ(Information Capital) • 2. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ (Strategic Driven) ภายใต้การบริหารยุทธศาสตร์ (Strategic Management) ข้าราชการแห่งอนาคตมีความจำเป็นต้องมีความรู้และทักษะในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติด้วยระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (PerformanceManagement System) เพื่อเห็นความเชื่อมโยงของการปฏิบัติงานส่วนบุคคลและองค์การโดยอาศัยแนวคิดและเครื่องมือในการบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์(HRM & HRD) 11

  12. สมรรถนะตามตำแหน่งงาน (Functional Competency) ซึ่งสะท้อนการพัฒนาทุนมนุษย์ (Human Capital) เพื่อให้ข้าราชการแห่งอนาคตภายใต้การพัฒนาตามสมรรถนะ (Competency-based Development) มีความจำเป็นในการได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะ ทัศนคติ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ให้สอดคล้องกับตำแหน่ง หน้าที่ งานที่รับผิดชอบ 2. ภาวะความเป็นผู้นำ (Leadership) เป็นรากฐานในการสร้างทุนองค์การ (Organization Capital) โดยข้าราชการ แห่งอนาคตทุกระดับจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาภาวะผู้นำให้เหมาะสมกับระดับตำแหน่งที่ปฏิบัติงาน เกิดการทำงานร่วมกัน (Teamwork) กับเพื่อนร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา และผู้ใต้บังคับบัญชา 12

  13. การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม นโยบายที่เปิดกว้างให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดการลดช่องว่างเดิมๆ ระหว่างภาครัฐกับ ภาคประชาชน ร่วมพัฒนา ร่วมหาทางเลือกที่ดีกว่า ให้สังคมส่วนรวม ปัญหาในภาครัฐไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยหน่วยงานใด หน่วยงานหนึ่งเท่านั้น 13

  14. ระบบการพัฒนาข้าราชการแห่งอนาคตแบ่งเป็น 6 ระบบย่อย คือ • ระบบการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน พัฒนาระบบและจัดการคน) • ระบบการพัฒนาสมรรถนะตามตำแหน่ง (พัฒนาความสามารถ) • ระบบการพัฒนาความร่วมมือและเครือข่าย (พัฒนาเครือข่าย) • ระบบการพัฒนาและประเมินข้าราชการก่อนดำรงตำแหน่ง • ระบบการให้ทุนการศึกษา • มหาวิทยาลัยข้าราชการ 14

  15. รูปแบบและวิธีการพัฒนาข้าราชการพลเรือนรูปแบบและวิธีการพัฒนาข้าราชการพลเรือน • การเรียนรู้ในห้องเรียน (Class Room) • การแบ่งปันความรู้(Knowledge Sharing) • การเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยี (Technology –based Learning) • การลงมือปฏิบัติ (Hands-on Methods) • การพัฒนาสายอาชีพ (Career Development) • รูปแบบอื่นๆเช่น ศูนย์รวมการประเมิน (AssessmentCenter)การเรียนรู้ด้วยวิธีผสมผสาน (Blended Learning) การศึกษาดูงาน (Field Trip)และการให้ทุนการศึกษา (Scholarship) 15

  16. กลุ่มเป้าหมายตาม พ.ร.บ.ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 • กลุ่มทั่วไป (O - Operation) (O1-4) • กลุ่มวิชาการ (K - Knowledge) (K1-5) • กลุ่มอำนวยการ (M - Management) (M1-2) • กลุ่มบริหาร (S - Senior Executive) (S1-2) • กลุ่มเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ • ข้าราชการบรรจุใหม่ • ข้าราชการผู้มีศักยภาพและผลสัมฤทธิ์สูง (Talent) • ข้าราชการที่มีผลการปฏิบัติงานไม่ตรงตามเป้าหมาย (Low Performer) • ข้าราชการที่เกษียณอายุก่อนกำหนด (Early Retirement) 16

  17. 17

  18. 1.ระบบการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน (พัฒนาระบบและจัดการคน) โครงการพัฒนางานผ่านช่องทางการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กโทรนิกส์ (E- Learning) โครงการหนอนหนังสือ (Book Review) โปรแกรมการศึกษาดูงานองค์การตัวอย่าง (BEST - Best Practice Visit) หลักสูตรกลยุทธ์การบริหารผลการปฏิบัติงาน (SPMS-Strategic Performance Management System) หลักสูตรนวัตกรรมในการบริหารภาครัฐ (IPS - Innovation in Public Sector) หลักสูตรการบริหารผลการปฏิบัติงาน (PM - Performance Management) หลักสูตรการพัฒนาองค์การ (OD - Organization Development) หลักสูตรพัฒนากระบวนการทำงาน (Work Process Improvement) หลักสูตรบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ (InfoCap -Information Capital Management) 18

  19. 1. ระบบการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน(พัฒนาระบบและจัดการคน) โครงการหนอนหนังสือ (Book Review) 19

  20. 1. ระบบการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน (พัฒนาระบบและจัดการคน) โครงการพัฒนางานผ่านช่องทางการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กโทรนิกส์(E- Learning) • ด้านการบริหาร • ด้านการเขียนหนังสือราชการ • ด้านการพัฒนากระบวนทัศน์ และคุณลักษณะข้าราชการ • ด้านการเสริมสร้างบทบาทหญิง ชาย • ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล • ด้านเสริมสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ • ด้านเสริมสมรรถนะด้านภาษา 20

More Related