1 / 23

ทฤษฎีการผลิต

ทฤษฎีการผลิต. SSC 281 : Economics 1/2552. การผลิต (Production). กิจกรรมใดก็ตามที่เป็นการเปลี่ยนหรือแปรรูปปัจจัยการผลิตให้เป็นสินค้าและบริการ การผลิตถือเป็นการสร้างอรรถประโยชน์ให้แก่ปัจจัยการผลิต สินค้าและบริการที่ผลิตได้ถือเป็นเศรษฐทรัพย์ เป้าหมายของผู้ผลิตคือ กำไรสูงสุด (maximize profit).

Download Presentation

ทฤษฎีการผลิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทฤษฎีการผลิต SSC 281 : Economics 1/2552 ศศิธร สุวรรณเทพ

  2. การผลิต(Production) • กิจกรรมใดก็ตามที่เป็นการเปลี่ยนหรือแปรรูปปัจจัยการผลิตให้เป็นสินค้าและบริการ • การผลิตถือเป็นการสร้างอรรถประโยชน์ให้แก่ปัจจัยการผลิต • สินค้าและบริการที่ผลิตได้ถือเป็นเศรษฐทรัพย์ • เป้าหมายของผู้ผลิตคือ กำไรสูงสุด (maximize profit) ศศิธร สุวรรณเทพ

  3. ประสิทธิภาพในการผลิต • ประสิทธิภาพทางเทคนิค (Technical Efficiency): วิธีการผลิตที่ใช้ปัจจัยการผลิตน้อยที่สุด โดยให้ผลผลิตเท่ากับวิธีอื่น • ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ(Economic Efficiency): วิธีการผลิตทีเสียต้นทุน(คิดเป็นเงิน)ต่ำสุด โดยให้ผลผลิตเท่ากันเป็นการนำราคาปัจจัยการผลิตมาพิจารณาด้วย ศศิธร สุวรรณเทพ

  4. การผลิตแบ่งออกเป็น 2 ระยะ • ระยะสั้น (short Run):ช่วงระยะเวลาที่จะต้องมีปัจจัยคงที่อย่างน้อยหนึ่งปัจจัย ดังนั้นการที่จะผลิตสินค้าเพิ่มขึ้นในระยะสั้นทำได้โดยการเพิ่มปัจจัยแปรผัน • ระยะยาว(Long Run):ช่วงระยะเวลาที่ไม่มีปัจจัยใดคงที่ ปัจจัยการผลิตทุกชนิดสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ปัจจัยการผลิตจะเป็นปัจจัยแปรผันทั้งหมด ศศิธร สุวรรณเทพ

  5. การวิเคราะห์การผลิตในระยะสั้นการวิเคราะห์การผลิตในระยะสั้น • ปัจจัยการผลิตในระยะสั้น (Short Run Productive Factors) • ปัจจัยคงที่ (Fixed Factors): ปัจจัยการผลิตที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิตที่เพิ่มขึ้น • ปัจจัยแปรผัน (Variable Factors): ปัจจัยการผลิตที่เปลี่ยนแปลงไปตามการผลิตที่เพิ่มขึ้น ถ้าผู้ผลิตต้องการผลิตเพิ่มขึ้น ผู้ผลิตต้องใช้ปัจจัยแปรผันเพิ่มขึ้น ศศิธร สุวรรณเทพ

  6. การวิเคราะห์การผลิตในระยะสั้นการวิเคราะห์การผลิตในระยะสั้น • ฟังก์ชั่นการผลิต (Production Function) การแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตต่างๆ และจำนวนผลผลิต เมื่อกำหนดเทคนิคการผลิตให้ Q = f (Factors…) ปัจจัยคงที่ ปัจจัยแปรผัน ศศิธร สุวรรณเทพ

  7. ความหมายและความสัมพันธ์ระหว่างผลผลิตแบบต่างๆความหมายและความสัมพันธ์ระหว่างผลผลิตแบบต่างๆ • ผลผลิตรวม (Total Product : TP) ; ผลผลิตทั้งหมดที่ผู้ผลิตได้รับจากการใช้ปัจจัยการผลิตแบบแปรผันร่วมกับปัจจัยคงที่ • ผลผลิตเพิ่ม (Marginal Product : MP) ; จำนวนผลผลิตที่เพิ่มขึ้นเมื่อใช้ปัจจัยแปรผันการผลิตเพิ่มขึ้น 1 หน่วย MP = TP/ l( l = ปัจจัยการแปรผัน) MPn = TPn-TPn-1 • ผลผลิตเฉลี่ย (Average Product : AP) ; ผลผลิตทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยปัจจัยแปรผัน AP = TP / l ; ปัจจัยแปรผัน (l) TP/l ศศิธร สุวรรณเทพ

  8. ความสัมพันธ์ระหว่าง TP, MP และ AP Max TP TP, MP,AP TP Max AP = MP AP MP = 0 l: ปัจจัยแปรผัน 0 MP ศศิธร สุวรรณเทพ

  9. สรุปความสัมพันธ์ระหว่าง TP, MP, AP 1. เมื่อ TP สูงสุด , MP = 0 2. ในช่วงที่ AP เพิ่มขึ้น, MP ของปัจจัยแปรผันจะมากกว่า AP ของปัจจัยแปรผันเสมอ (MPL > APL) 3. ในช่วงที่ AP ลดลง, MPL < APLเสมอ 4. เมื่อ AP สูงสุด จะมีค่าเท่ากับ MP เสมอ MAX AP = MP ศศิธร สุวรรณเทพ

  10. การแบ่งช่วงของการผลิต(Stages of Production) Max TP TP, MP,AP Stage 2 Stage 3 Stage 1 TP ช่วงการผลิตที่เหมาะสมคือ ต้องเลือกใช้ปัจจัยการผลิต แปรผันให้อยู่ในช่วงที่ 2 ของ การผลิต Max MP Max AP = MP AP MP = 0 l: ปัจจัยแปรผัน 0 MP ศศิธร สุวรรณเทพ

  11. กฎการลดน้อยถอยลงของผลผลิตเพิ่ม(Law of Diminishing Marginal Physical Products) • ถ้ามีปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งคงที่แล้ว การเพิ่มปัจจัยแปรผัน(l) ขึ้นเรื่อยๆ จะก่อให้เกิดการลดน้อยถอยลงของผลผลิตหน่วยสุดท้ายในที่สุด และผลผลิตหน่วยสุดท้ายอาจจะลดลงเท่ากับศูนย์หรือต่ำกว่าศูนย์ก็ได้ ศศิธร สุวรรณเทพ

  12. ทฤษฎีการผลิตระยะยาว • การวิเคราะห์การผลิตระยะยาวทำได้โดยใช้เครื่องมือ - เส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant Line) : IQ - เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocost Line) : IS • กฎผลได้ต่อขนาด • การประหยัดและไม่ประหยัดเนื่องจากขนาด ศศิธร สุวรรณเทพ

  13. เส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant Line) : IQ • เส้นที่แสดงการใช้ปัจจัยการผลิต 2 ชนิดในสัดส่วนที่แตกต่างกัน ซึ่งให้ผลผลิตท่ากัน ปัจจัย K A 15 สมมติให้มีปัจจัยการผลิต 2 ชนิดคือ ปัจจัย K และปัจจัย L +K B +L 10 C 8 IQ = 100 ปัจจัย L 0 1 2 3 ศศิธร สุวรรณเทพ

  14. อัตราการใช้ปัจจัยการผลิตทดแทนกัน(Marginal Rate ofTechnical Substitution : MRST) • จำนวนปัจจัยการผลิตชนิดหนึ่งที่ลดลงโดยที่ปัจจัยการผลิตอีกชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้นหนึ่งหน่วย เพื่อให้ได้ผลผลิตเท่าจำนวนเดิม MRTSlk = - K / L (A B) การใช้ปัจจัยการผลิต Lเพิ่มขึ้นโดยลดปัจจัยการผลิต Kลง MRTSkl = - L / K (B A) (C B) การใช้ปัจจัยการผลิต Kเพิ่มขึ้นโดยลดปัจจัยการผลิต Lลง MRTS จะมีค่าลดลงโดยตลอด ศศิธร สุวรรณเทพ

  15. การลดน้อยถอยลงของอัตราการใช้ปัจจัยการผลิตทดแทนกันการลดน้อยถอยลงของอัตราการใช้ปัจจัยการผลิตทดแทนกัน • ค่า MRTS ของปัจจัยการผลิต 2 ชนิดจะลดลงเรื่อยๆ เมื่อใช้ปัจจัยการผลิตอีกชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น และปัจจัยการผลิตอีกชนิดหนึ่งลดลง ศศิธร สุวรรณเทพ

  16. เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocost Line) : IS • เส้นที่แสดงส่วนผสมของปัจจัยการผลิต 2 ชนิดที่แตกต่างกันที่สามารถซื้อได้ด้วยเงินทุนจำนวนเดียว ปัจจัย K สมมติให้ C แทนเงินทุนของผู้ผลิต C/Pk Slope ของเส้น IS คือ Pl/Pk 0 ปัจจัย L C/Pl ศศิธร สุวรรณเทพ

  17. การเปลี่ยนแปลงของเส้นต้นทุนเท่ากันการเปลี่ยนแปลงของเส้นต้นทุนเท่ากัน • เส้นต้นทุนเท่ากันจะเปลี่ยนแปลงได้ 2 กรณีคือ - ราคาปัจจัยการผลิตเปลี่ยน เงินทุนคงที่ รูป ก - งบประมาณการผลิตเปลี่ยน (เงินทุนของผู้ผลิต) ราคาปัจจัยคงที่ รูป ข ศศิธร สุวรรณเทพ

  18. รูป ข รูป ก ปัจจัย K ปัจจัย K C/Pk C/Pk 0 0 C/Pl C/Pl ศศิธร สุวรรณเทพ ปัจจัย L ปัจจัย L

  19. การใช้ส่วนผสมของปัจจัยการผลิตที่เหมาะสม หรือ ดุลยภาพผู้ผลิต • เงื่อนไขการผลิตที่เหมาะสมกำหนดจากจุดที่เส้นผลผลิตเท่ากันสัมผัสกับเส้นที่ต้นทุนเท่ากัน โดย ณ จุดสัมผัส จะมีค่าความชันของเส้น Isoquantและเส้น Isocostจะมีค่าเท่ากัน ศศิธร สุวรรณเทพ

  20. ดุลยภาพของการผลิต ปัจจัย K ดุลยภาพการผลิต ณ จุด E ค่าความชันของเส้น IS = IQ +K /+ L = Pl / Pk MRTS LK = Pl / Pk C/Pk E K = 10 IQ1 = 120 IQ0 0 ปัจจัย L L = 50 C/Pl ศศิธร สุวรรณเทพ

  21. เส้นแนวทางการขยายผลผลิต(The Expansion Path) • เส้นที่แสดงส่วนผสมของปัจจัยการผลิตที่เสียต้นทุนต่ำที่สุด Expansion Path ปัจจัย K C/Pk E1 15 10 E IQ2 8 IQ1 = 120 IQ0 0 ปัจจัย L 40 50 60 C/Pl ศศิธร สุวรรณเทพ

  22. กฎว่าด้วยผลได้ต่อขนาด(Law of Return to Scale) เมื่อปัจจัยการผลิตทุกชนิดเพิ่มขึ้น ในระยะยาวจะทำให้ ผลผลิตเพิ่มขึ้น 3 แบบ • Increasing Return to Scale (Output > 10%): ผลที่ได้ต่อขนาดเพิ่มขึ้นเนื่องจากการประหยัดเนื่องจากขนาด (Economics of scale) • Constant Return to Scale (Output = 10%): ผลที่ได้ต่อขนาดคงที่ • Decreasing Return to Scale (Output < 10%): ผลที่ได้ต่อขนาดลดลง เนื่องจากการไม่ประหยัด (diseconomies of scale) ศศิธร สุวรรณเทพ

  23. The End ศศิธร สุวรรณเทพ

More Related