1 / 1

ค่านิยม

ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับใช้ในการจัดทำคำของบประมาณฯ ปี พ.ศ.๒๕๕๖. เป็นองค์กร หลัก ในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อสร้างปัญญาในสังคม สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความสามารถในการแข่งขันของประเทศอย่างยั่งยืน. วิสัยทัศน์.

Download Presentation

ค่านิยม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับใช้ในการจัดทำคำของบประมาณฯ ปี พ.ศ.๒๕๕๖ เป็นองค์กรหลักในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อสร้างปัญญาในสังคมสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความสามารถในการแข่งขันของประเทศอย่างยั่งยืน วิสัยทัศน์ ๓. ร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ สร้างคนดีและคนเก่งในทุกระดับ รวมทั้งสร้างความตระหนักด้าน วทน.ให้แพร่หลายและเป็นที่ยอมรับกับทุกภาคส่วนของประเทศ ๕. สนับสนุนให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยี และสร้างนวัตกรรมให้แก่ภาคการผลิตและบริการ รวมทั้งบริการสังคมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อเพิ่มผลิตภาพทางเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของประชาชน ๑.เสนอแนะนโยบาย และจัดทำยุทธศาสตร์/ แผนด้าน วทน. โดยบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานในสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๒. ริเริ่ม เร่งรัด ผลักดันและดำเนินการวิจัยและพัฒนา เพื่อสร้างองค์ความรู้ที่มีผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจและสังคม ๔. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสนับสนุนและกลไกด้านต่างๆ ที่เอื้อต่อการสร้างปัญญา และการนำองค์ความรู้ทางด้าน วทน.ไปใช้เพิ่มคุณค่ากับภาคการผลิต รวมถึงภาคสังคม พันธกิจ ค่านิยม Merit & Modernization Outcome-Oriented Social Accountability Transparency & Teamwork ๒. การสร้างความตระหนัก และพัฒนา การเรียนรู้ด้าน วทน.ให้เป็นสังคมฐาน ความรู้ ๖. การพัฒนาและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศและ การบริหารจัดการ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติ ๔. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมให้เพียงพอ รวมทั้งพัฒนานโยบาย การบริหารจัดการด้าน วทน. ให้มีประสิทธิภาพและทันสมัย ๑. การส่งเสริมและเร่งรัดการพัฒนากำลังคนด้าน วทน. ให้เป็นพลังของประเทศ ๓.การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม สร้างฐานความรู้และเพิ่มผลิตภาพของประเทศ ๕.การถ่ายทอดเทคโนโลยีและมีการนำผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมไปใช้ในการเพิ่มผลผลิตเชิงพาณิชย์และการบริการสังคม ยุทธศาสตร์ เป้าหมายที่ ๔ ภาคการผลิตและบริการ ใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานในการยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์และการบริการให้ได้มาตรฐาน รวมทั้งการพัฒนานโยบาย โครงสร้างพื้นฐาน ระบบสนับสนุนและการบริหารจัดการที่มีคุณภาพให้เพียงพอ เป้าหมายที่ ๓ การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมสามารถนำไปเผยแพร่ และประยุกต์ใช้ได้ในภาคการผลิต เกษตร บริการ และภาคสังคม/ชุมชน เป้าหมายที่๒ ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งเด็กและเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ และ ทัศนคติที่ดีต่อ วทน. เป้าหมายที่ ๑ กำลังคนทางด้าน วทน. ที่ได้รับการเสริมสร้างขีดความสามารถโดยการศึกษา/อบรม สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม หรือ การปฏิบัติงานด้าน วทน.ได้ เป้าหมายที่ ๕ ผู้ประกอบการและชุมชนได้นำเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม เป้าหมายที่ ๖. ภาคการผลิต บริการ และชุมชนได้นำเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และบริหารจัดการภัยธรรมชาติอย่างมีประสิทธิผล เป้าประสงค์ ๑๑. จำนวนโครงการความร่วมมือด้าน วทน.ระหว่างประเทศที่มีกิจกรรมต่อเนื่องอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีแผนปฏิบัติการรองรับและมีการติดตามประเมินผล (โครงการ) ๑๒.ร้อยละของหน่วยงานที่ใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์และรังสีที่ไม่เกิดอุบัติเหตุทางนิวเคลียร์และรังสี (ร้อยละ) ๑๓. จำนวนผู้มาใช้บริการในอุทยานวิทยาศาสตร์ (ราย) ๑๔. จำนวนธุรกิจใหม่ที่เกิดจากระบบสนับสนุนของ วท.(ราย) ๑๕. จำนวนการบริการวิเคราะห์ ทดสอบ สอบเทียบ และบริการข้อมูลทาง ว. และ ท. (รายการ) ๑๖. จำนวนรายการวัดของห้องปฏิบัติการที่ได้รับการพัฒนาและรับรองระบบงานตามมาตรฐานสากล (รายการ) ๑๗. ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสามารถยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการได้ตามเป้าหมาย (ร้อยละ) ๑๘. จำนวนข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย แผน และแนวทาง ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการระดับชาติ หรือคณะรัฐมนตรี หรือได้รับการผลักดันไปสู่การปฏิบัติ (เรื่อง) ๗. จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (เรื่อง) ๘. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมที่สามารถ นำไปยื่นขอจดสิทธิบัตร (เรื่อง) ๙. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในภาคการผลิต เกษตร บริการและ ภาคสังคม/ชุมชน (เรื่อง) ๑๐. จำนวนผลงานวิจัยและพัฒนาที่ได้รับการต่อยอดและสนับสนุนจากกระทรวงวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี (เรื่อง) ๑๙. จำนวนสถานประกอบการ/ชุมชนที่นำผลงานวิจัยและพัฒนาไปใช้ประโยชน์ (ราย) ๓. จำนวนผลงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชน (ผลงาน) ๔. จำนวนผู้ใช้บริการพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ (คน) ๕. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมด้าน วทน. (คน) ๖.จำนวนผู้ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติผลงานดีเด่นด้าน วทน. (คน) ๒๐. จำนวนเรื่องที่นำเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศไปใช้ประโยชน์(เรื่อง) ๑. จำนวนกำลังคน วทน. ที่ได้รับการส่งเสริมให้ทำวิจัยและพัฒนา (คน) ๒. ร้อยละของผู้รับการฝึกอบรมหลักสูตรด้าน วทน. ที่สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ (ร้อยละ) ตัวชี้วัด ๕.๑ ผลักดันการนำเทคโนโลยีเพื่อสร้างขีดความสามารถของภาคการผลิต เกษตร และบริการ ๕.๒ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเพื่อสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม ๕.๓ ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่สังคม ชุมชนและท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ๓.๑ผลักดันการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม เพื่อสร้างองค์ความรู้และนำไปใช้ประโยชน์ในภาคการผลิต เกษตร และบริการ ๓.๒ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ๓.๓ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของสังคม ชุมชนและท้องถิ่น ๖.๑ พัฒนางานวิจัยและคุณภาพการให้บริการทางด้านเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ๔.๑พัฒนาระบบทดสอบ สอบเทียบ วิเคราะห์คุณภาพและรับรองมาตรฐานให้ทันสมัย ๔.๒ ส่งเสริมและพัฒนาระบบการบริหารจัดการกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ ๔.๓เร่งพัฒนาศูนย์ ว. และ ท. เฉพาะทาง เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ ๔.๔ พัฒนาการบริหารจัดการด้าน วทน. ให้มีประสิทธิภาพ ๔.๕ สร้างความร่วมมือในการพัฒนานโยบาย/แผน/ แนวทาง วทน. ของประเทศและสร้างความร่วมมือด้าน วทน. ระหว่างประเทศ ๒.๑ สร้างการเรียนรู้และความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชน และเผยแพร่ความรู้ด้าน วทน. สู่ประชาชน รวมทั้งเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ๒.๒ เชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์ นักประดิษฐ์ ปราชญ์ชาวบ้าน ๑.๑ ร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการผลิตและสร้างเส้นทางอาชีพบุคลากร วทน. ๑.๒ เสริมความรู้และทักษะให้แก่ผู้ทำงานทางด้าน วทน. ในภาคส่วนต่างๆ กลยุทธ์ มติที่ประชุมคณะทำงานจัดทำยุทธศาสตร์ แผน งบประมาณและการติดตามผล วท. ๑๖ ก.พ.๒๕๕๕ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

More Related