1 / 23

“ โครงการบ่มเพาะและเตรียมความพร้อมบุคลากร ป้อนสู่อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ”

สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ร่วมกับ. “ โครงการบ่มเพาะและเตรียมความพร้อมบุคลากร ป้อนสู่อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ”. พฤหัสบดี 5-07-55. พิภัช ดวงคำสวัสดิ์.

Download Presentation

“ โครงการบ่มเพาะและเตรียมความพร้อมบุคลากร ป้อนสู่อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ร่วมกับ “โครงการบ่มเพาะและเตรียมความพร้อมบุคลากร ป้อนสู่อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์” พฤหัสบดี 5-07-55 พิภัช ดวงคำสวัสดิ์ ติดต่อขอใบสมัครได้ที่ ชั้น 8 อาคาร 5 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม Mobile Application Development Android and iOS

  2. หัวข้อการการประชุม • ความเป็นมาและวัตุประสงค์ของโครงการ • พิธีลงนามความร่วมมือ • ปัญหาทรัพยากรบุคคลของซอฟต์แวร์ไทย • คุณสมบัติของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯ • บทบาทของ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม • บทบาทของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ฯ

  3. ข้อมูลทรัพยากรบุคคลากรทคโนโลยีสารสนเทศข้อมูลทรัพยากรบุคคลากรทคโนโลยีสารสนเทศ • จำนวนบัณฑิตที่จบด้าน IT ระดับปริญญาตรีในแต่ละปี 5ถั่วเฉลี่ย 17,000-22,000 คน (ข้อมูล สกอ.) • กำลังคนที่ผลิตออกมาอีก 17,000 (90% ) ไปทำงานฝ่ายผู้ใช้ • เข้าทำงานใน SW Industry:เพียง 5,000 คน (10%) • ทำอย่างไรจะให้บุคลากรเข้าสู่ภาค อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์หรือ ICT ให้เต็ม • บริษัทซอฟต์แวร์ส่วนใหญ่ในประเทศไทย (สำรวจ 1,300 บริษัท มีบุคลากรรวมประมาณ 20 คนเท่านั้น • การแย่งชิงทรัพยากรบุคคลที่ขาดแคลน เป็นปัญหาที่สำคัญข้อหนึ่ง

  4. Key Partner

  5. โครงการบ่มเพาะและเตรียมความพร้อมบุคลากรโครงการบ่มเพาะและเตรียมความพร้อมบุคลากร ป้อนสู่อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ปี 2555 สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

  6. โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อป้อนสู่อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทยโครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อป้อนสู่อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย วัตถุประสงค์ • เพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิตบุคลากรในอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ให้กับประเทศไทย และเพิ่มงานให้กับบุคลากรทางด้าน IT • สร้างคนระดับผู้พัฒนา อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ให้ตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม โดย SIPA และ มหาวิทยาลัยศรีปทุม เป็นผู้สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร และประสานความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา เมื่อสิ้นสุดการอบรมจะบุคลากรเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมโดยทำงานในภูมิลำเนาเดิม

  7. โครงการบ่มเพาะและเตรียมความพร้อมบุคลากรป้อนสู่อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์โครงการบ่มเพาะและเตรียมความพร้อมบุคลากรป้อนสู่อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ วัตถุประสงค์ • เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมบุคลากรด้านซอฟต์แวร์ได้ตรงกับความต้องการและเป้าหมายของภาคอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย • เพื่อขยายฐานตลาดแรงงานในภูมิภาคภายในประเทศให้กับภาคอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทยอย่างมีคุณภาพ ซึ่งจะสร้างความเข้มแข็งให้กับอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทยและเป็นการเตรียมความพร้อมสู่การแข่งขันในตลาดโลก • สร้างรายได้ให้แก่ผู้ผ่านการฝึกอบรม และลดอัตราการว่างงานของบัณฑิตที่จบในสายวิชาชีพ ซอฟต์แวร์ และสายวิชาชีพอื่นที่มีความสนใจทางด้านซอฟต์แวร์

  8. MOU วันจันทร์ที่ 18 มิถุนายน 2555 ณ ห้องบอร์ดรูม ชั้น 14 อาคาร 11 มหาวิทยาลัยศรีปทุม ดร.รัชนีพร พุคยาภรณ์ พุกกะมาน อธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีปทุม พิธีลงนามความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยศรีปทุม กับ สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

  9. ปัญหาทรัพยากรบุคคลของซอฟต์แวร์ไทยปัญหาทรัพยากรบุคคลของซอฟต์แวร์ไทย อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์จะเติบโตได้ต้องอาศัยทรัพยากรบุคคลด้านเทคนิคในระดับต่างๆ ที่มีคุณภาพอีกเป็นจำนวนมาก • ปัญหาด้านปริมาณ • ปัญหาด้านคุณภาพ • ปัญหาด้านการเข้าถึงแหล่งงาน/แหล่งคน (Availability) • การลดมาตรฐานวิชาชีพ ทั้งด้าน คุณภาพ และ จริยธรรม • “ยังมีแหล่งทรัพยากรบุคคลอีกจำนวนมาก ในขณะที่แหล่งงานหลักที่มีรายได้ และ Career Path ที่ดี และ มีโอกาสเป็นเจ้าของกิจการ” มหาเศรษฐีแห่งวงการเทคโนโลยี IT 9

  10. 10 อันดับมหาเศรษฐีแห่งวงการเทคโนโลยี IT Jeff Bezosอะเมซอน 5.7 แสนล้านบาท เจ้าพ่อแห่ง E-Commerce Bill Gates ไมโครซอฟท์ 1.7 ล้านล้านบาท Mark Zuckerberg เฟสบุ๊ก 5.2 แสนล้านบาท (อายุ 27 ปี) Larry Page กูเกิล 5 แสนล้านบาท เป็นนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ และผู้ร่วมก่อตั้งกูเกิลคู่กับSergey Brin ( เซอร์เกย์ บริน) Sergey Brin กูเกิล 5 แสนล้านบาท World Wide Web

  11. 10 อันดับมหาเศรษฐีแห่งวงการเทคโนโลยี IT Steve Ballmerไมโครซอฟท์ 4.1 แสนล้านบาท Steve Jobs แอปเปิล 2.1 แสนล้านบาท Pierre Omidyar อีเบย์ 1.8 แสนล้านบาท Eric Schmidt กูเกิล 1.8 แสนล้านบาท Dustin Moskovitz เฟสบุ๊ก 1 แสนล้านบาท (อายุ 27 ปี)

  12. บทบาทของ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม • สามารถประสานงานกับภาคอุตสาหกรรม เพื่อจัดหาวิทยากรที่มีคุณภาพและมีประสบการณ์จากผู้ประกอบการ โดย มหาวิทยาลัยรับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับวิทยากร บางส่วน • ศึกษาความต้องการบุคลากรที่มีความรู้เกี่ยวกับซอฟต์แวร์ด้านต่างๆของภาคอุตสาหกรรม โดยเชิญผู้ประกอบการเข้ามาร่วมหารือออกแบบหลักสูตรการอบรม • สรรหาและคัดเลือกนักศึกษาที่เข้ารับการฝึกอบรม • ประชาสัมพันธ์โครงการให้กลุ่มเป้าหมายรับทราบ • ความพร้อมทางด้านจัดหาสถานที่ อุปกรณ์ และอำนวยความสะดวกให้กับนักศึกษา ทีมวิทยากร และพี่เลี้ยง

  13. บทบาทของ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิธีการดำเนินงาน • ประชุมร่วมกันระหว่างสถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐ และภาคอุตสาหกรรม • ลงนามในสัญญาร่วมโครงการกับสำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน) • ประชาสัมพันธ์โครงการและให้ข้อมูลกับนักศึกษาที่สนใจ • สถาบันการศึกษาจัดหานักศึกษาเข้าร่วมโครงการ • จัดเตรียมห้องอบรมเชิงปฏิบัติการ (ห้องประชุม ห้องอบรมและห้องคอมพิวเตอร์) เสมือนการทำงานจริง • จัดทำทะเบียนนักศึกษาที่เข้าร่วมและนักศึกษาที่ได้งานทำ

  14. บทบาทของ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ประโยชน์ที่ได้รับ • นักศึกษาที่ผ่านการฝึกอบรมในโครงการ จะได้รับการจ้างงานหรือมีความพร้อมในการเข้าทำงาน เป็นการสร้างชื่อเสียงให้กับสถาบันการศึกษา • จำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้น คือ ชื่อเสียงในเรื่องจบแล้วมีโอกาสได้รับการจ้างงานที่แน่นอน ย่อมทำให้ผู้ปกครองมีความมั่นใจในการให้บุตรหลานเข้าศึกษา • มีเครือข่าย คือ บริษัท/ผู้ประกอบการ ที่มีความสามารถรองรับบุคลากรที่เข้าร่วมและผ่านการฝึกอบรม เข้าทำงานในบริษัท/สถานประกอบการได้ • ทำให้อัตรานักศึกษาที่จบจากมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมโครงการได้รับงานทำตรงตามสาขาที่เรียนมาเพิ่มขึ้น

  15. บทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯบทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯ คุณสมบัติ มีการเรียนการสอนในภาควิชาที่เกี่ยวข้อง • 1.1ด้านซอฟต์แวร์ Enterprise Software, Digital Content, Embedded Software,สายไอที หรือ • 1.2ภาควิชาเกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว เกษตรและอาหาร การศึกษา โลจิสติกส์ การแพทย์หรือสาธารณสุข โดยพื้นฐานหรือภาควิชาอื่นที่มีความสนใจด้านไอที 15

  16. บทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯบทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯ หน้าที่ • ร่วมให้ข้อมูลกับภาคการศึกษาเกี่ยวกับความต้องการบุคลากรด้านซอฟต์แวร์ เพื่อเตรียมการออกแบบหลักสูตรการอบรม • ส่งเจ้าหน้าที่/พนักงานมาเป็นวิทยากร (Trainer) และพี่เลี้ยงในการให้คำแนะนำกับผู้เข้ารับการฝึกอบรม • นำชิ้นงานจริงมาให้นักศึกษาทำ เพื่อเป็นการเรียนรู้ถึงระบบการทำงานจริงและขั้นตอนการทำงาน พร้อมจ่ายเงินเดือน/ค่าตอบแทนให้กับผู้เข้ารับการฝึกอบรมหรือบริษัทอาจจะจ่ายตามคุณภาพของผลงานของผู้เข้ารับการฝึกอบรม (โดยไม่น้อยกว่า 500 บาท/1ชิ้นงาน) • ทำการประเมินนักศึกษาร่วมกับมหาวิทยาลัย

  17. บทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯบทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯ ประโยชน์ที่ได้รับ • ได้บุคลากรที่มีคุณภาพตรงตามความต้องการ • ลดค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมพนักงาน/เจ้าหน้าที่เข้าใหม่ที่บริษัทจะว่าจ้างทำงาน • ได้ผลงานในปริมาณที่ต้องการหรือมากกว่าและสามารถควบคุมผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุณภาพตามที่ต้องการ

  18. บทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯบทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯ วิธีการดำเนินงาน • ประชุมร่วมกันระหว่างสถาบันการศึกษา ร่วมออกแบบหลักสูตร • ส่งพนักงานเข้ามาเป็นวิทยากรและ/หรือพี่เลี้ยงให้กับนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ • จัดทำแบบประเมินผลเพื่อวัดผลนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ • นำชิ้นงานจริงมาป้อนให้นักศึกษาที่ผ่านการคัดเลือก • ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ มีโอกาสในการคัดเลือกนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการก่อนผู้ประกอบการที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการ 18

  19. บทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯบทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯ คุณสมบัติ • เป็นผู้ประกอบการธุรกิจในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง - ธุรกิจด้าน Enterprise Software, Digital Content,Embedded Software, Mobile Applicationหรือซอฟต์แวร์ประเภทอื่นๆ -ธุรกิจด้านการท่องเที่ยว เกษตรและอาหาร การศึกษา โลจิสติกส์ การแพทย์หรือสาธารณสุข หรือธุรกิจอื่นที่มีหน่วยงานด้านไอที • สามารถส่งทีมงานมาเป็นวิทยากร (Trainer)และ/หรือพี่เลี้ยงได้ • สามารถรับผู้ที่ผ่านการอบรมเข้าทำงานได้ หรือมีการจ้างงานในลักษณะต่างๆ เช่น Outsourcing, By job, By Project

  20. หลักสูตร Mobile Application Development: Android and iOS • จะเน้นให้นักศึกษาอบรม Mobile Application and Media Tablets : • Android   เป็นโอเอสแบบโอเพ่นซอร์ส นั่นคือเป็นระบบเปิดที่ให้บริษัท ผู้ผลิตมือถือต่าง ๆ เช่น Acer , Dell , hTC , Lenovo,LG , Motorolo, Samsung, Sony Ericsson ฯลฯ สามารถนำไปติดตั้งและใช้งานได้ฟรีในโทรศัพท์มือถือที่แต่ละบริษัทได้ทำการผลิตขึ้น โดยมีเงื่อนไขอยู่ว่า บริษัทเหล่านั้น ต้องผ่านเกณฑ์คุณภาพที่ Google กำหนด • ระบบปฏิบัติการไอโอเอส (iOS) เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับสมาร์ทโฟน (Smartphone) ของแอปเปิล

  21. บทบาทของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ

  22. สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ร่วมกับ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยลัยศรีปทุม ด่วน !!!!..........สมัครเข้าร่วมโครงการ “โครงการบ่มเพาะและเตรียมความพร้อมบุคลากร ป้อนสู่อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์” ให้ทุนฟรี 45,000 บาทต่อคน รับเพียง 100 คน Mobile Application Development Android and iOS • ประโยชน์ของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ จะได้รับ • นักศึกษาที่ผ่านการฝึกอบรมในโครงการ จะได้รับการจ้างงานหรือมีความพร้อมในการเข้าทำงาน เป็นการสร้างชื่อเสียงให้กับตนเองและครอบครัว • มีเครือข่าย คือ บริษัท/ผู้ประกอบการ ที่มีความสามารถรองรับบุคลากรที่เข้าร่วมและผ่านการฝึกอบรม เข้าทำงานในบริษัท/สถานประกอบการได้ ทันที่ • ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับงานทำตรงตามสาขาที่เรียนมาเพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรม IT • เป็นการให้ทุนฟรี สำหรับค่าใช้จ่ายการฝึกอบรม อาหาร และ ระหว่างทดลองงาน จำนวนเงิน 45,000 บาทต่อคน โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น • เมื่ออยู่ครบตลอดโครงการ ประมาณ 4 – 6 เดือนจะรับเงินค่าตอบแทนและค่าจ้างงาน • ไม่กระทบเวลาเรียน สามารถปรับแผนการเรียนได้ ฯลฯ ติดต่อขอใบสมัครได้ที่ ชั้น 8 อาคาร 5 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  23. FC: pipat duangkamsawat 23

More Related