1 / 18

บทที่ 9

บทที่ 9. การจัดการสินค้าคงคลังสำหรับธุรกิจ SMEs. การจัดการสินค้าคงคลัง Inventory Management.

Download Presentation

บทที่ 9

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 9 การจัดการสินค้าคงคลังสำหรับธุรกิจ SMEs. www.ssru.ac.th

  2. การจัดการสินค้าคงคลัง Inventory Management การเก็บวัตถุดิบ ชิ้นส่วนการผลิต สินค้าระหว่างผลิตและสินค้าสำเร็จรูปไว้ในการผลิตเป็นเรื่องจำเป็นสำหรับธุรกิจโดยทั่วไป แต่ต้องมีปริมาณที่เหมาะสมต่อการใช้และไม่ควรเก็บไว้มากเกินไป เพราะจะเกิดต้นทุนจม (Sunk Cost) และหากมีน้อยเกินไปก็อาจเกิดต้นทุนเนื่องจากสินค้าขาดมือ (Shortage Cost) www.ssru.ac.th

  3. การจัดการสินค้าคงคลัง Inventory Management ปัจจุบัน ธุรกิจส่วนใหญ่หันมาใช้เทคโนโลยีด้านการจัดการสินค้าคงคลังเพื่อลดต้นทุนในองค์กรกันมาก ตั้งแต่การใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาจัดการสินค้า ใช้บาร์โค้ด ใช้ซอฟท์แวร์ ช่วยควบคุมต่างๆ เพื่อให้สินค้าคงคลังมีปริมาณที่เหมาะสมและเกิดการประหยัดในการสั่งซื้อ (Economic Order Quantity = EOQ) www.ssru.ac.th

  4. ข้อกำหนดพื้นฐานของการใช้ตัวแบบ EOQ • การควบคุมสินค้าคงเหลือมีจุดเดียวเท่านั้น เช่น ในโรงเก็บสินค้า • ความต้องการสินค้า (Demand) มีค่าคงที่ตลอดเวลา • ห้ามเกิดสภาพการขาดแคลนสินค้าคงเหลือ (No-shortage) • ระยะเวลาในการนำส่งสินค้า (Lead-time) คงที่ • ต้นทุนในการสั่งซื้อและเก็บรักษาสินค้าคงที่ • ราคาต่อหน่วยสินค้าต้องมีค่าเท่ากันไม่ว่าจะสั่งปริมาณเท่าใด • ใช้ได้กับสินค้าครั้งละ 1 ชนิด • ในการนำส่งสินค้าให้ส่งครั้งเดียวครบจำนวนห้ามทยอยส่งมอบ www.ssru.ac.th

  5. กิจกรรมหลักของการจัดการสินค้าคงคลังกิจกรรมหลักของการจัดการสินค้าคงคลัง • การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนและการปฏิบัติการด้านการรับ-จัดเก็บ และการส่งมอบสินค้า ซึ่งเกี่ยวข้องกับงานควบคุมและดำเนินการต่างๆ เช่น งานด้านเอกสาร , การควบคุมสินค้าที่จัดเก็บ, การจัดสรรพื้นที่ (Space Utilize) ในคลังสินค้าให้มีประสิทธิภาพสูงสุด • การบริหารต้นทุนสินค้าคงคลัง (Inventory Carrying Cost) เป็นการบริหารจัดการ เพื่อให้มีการถือครองสินค้าคงคลังน้อยที่สุด ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เพื่อประสิทธิภาพของการบริหารสินค้าคงคลังให้ตํ่าสุด www.ssru.ac.th

  6. ปัจจัยที่ทำให้มีความจำเป็นต้องมีสินค้าคงคลังปัจจัยที่ทำให้มีความจำเป็นต้องมีสินค้าคงคลัง • การประหยัดจากขนาด (Economies of Scale) • การจัดการความสมดุลของซัพพลายเออร์ (Suppliers Balancing) • สินค้าตามฤดูกาล (Seasonal Stock) • สินค้าที่เก็บเพื่อการเก็งกำไร (Speculative Stock) • สินค้าส่วนเกินเผื่อขาด (Buffer Stock) • การเก็บสินค้าเพื่อให้การผลิตไม่หยุดชะงัก (Stock for Stable Production) www.ssru.ac.th

  7. สินค้าคงคลัง (Inventory) • ประกอบด้วย • วัตถุดิบ (Raw Material) • สินค้าระหว่างผลิต (Work in Process) • วัสดุซ่อมบำรุง (Maintenance / Repair / Operating Supplies) • สินค้าสำเร็จรูป (Finished Goods) www.ssru.ac.th

  8. ลักษณะสินค้าที่เป็น DeadStock • สินค้าคืนจากลูกค้าและขายไม่ได้ • สินค้าเสียหาย • สินค้าล้าสมัยขายไม่ได้ • สินค้าซื้อมากแต่ใช้น้อย (จนไม่ใช้) • สินค้าไม่เคลื่อนไหว (ตลอดกาล) • เศษซาก/ของเสีย • สินค้ามีแต่ในบัญชีแต่สินค้าจริงไม่มี • สินค้าไม่มีราคา (แต่ทางบัญชียังคงมีมูลค่า) www.ssru.ac.th

  9. Activity Based Costing = ABC Theory การจัดการสินค้าคงคลังแบบ ABC คือ การจัดกลุ่มสินค้าให้มีความสำคัญตามมูลค่าและปริมาณของสินค้า ในทางปฏิบัติจะพบเสมอว่า สินค้าที่มีปริมาณมากมักมีมูลค่าไม่สูง ในทางตรงกันข้ามสินค้าที่มีมูลค่าสูงจะมีปริมาณไม่มาก ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 Class คือ สินค้ากลุ่ม A เป็นกลุ่มที่มีมูลค่าสูงถึง 80% ของมูลค่าสินค้าทั้ง หมดในคลังสินค้าแต่มีปริมาณไม่เกิน 20% ของจำนวนรายการทั้งหมด สินค้ากลุ่ม B เป็นกลุ่มที่มีมูลค่าประมาณ 15% ของมูลค่าสินค้าทั้งหมด แต่มีปริมาณในคลังประมาณ 30% ของจำนวนทั้งหมด สินค้ากลุ่ม C เป็นกลุ่มที่มีมูลค่าน้อยที่สุด ประมาณ 5% ของมูลค่าสินค้าทั้งหมด แต่มีปริมาณสูงเกิน 50% ของจำนวนรายการทั้งหมด www.ssru.ac.th

  10. การนำระบบสารสนเทศมาใช้ในธุรกิจการนำระบบสารสนเทศมาใช้ในธุรกิจ www.ssru.ac.th

  11. การบริหารทรัพยากรขององค์กรการบริหารทรัพยากรขององค์กร Enterprise Resource Planning :ERP หมายถึงการบริหารจัดการภายในองค์กร เนื่องจากมีการแข่งขันกันที่สูง องค์กรต่างๆจึงต้องมีการพัฒนากระบวนการและข้อมูลทั้งหมด ในองค์กร เพื่อที่จะได้มีศักยภาพในการแข่งขันมากขึ้น โดยจะมีการนำอินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทในโซ่อุปทาน (Supply Chain) โดยเป็นแหล่งจำหน่ายสินค้าที่ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคโดยตรง โดยการผลิตตามความต้องการของลูกค้า ซึ่งจะมีการติดต่อระหว่างสายการผลิตไปจนถึงช่องทางจำหน่ายทั้งนี้เพื่อที่จะลดขั้นตอนใน Supply Chain จะทำให้ลดค่าใช้จ่ายในกระบวนการผลิต www.ssru.ac.th

  12. www.ssru.ac.th

  13. BarcodeTechnique Barcodeเป็นรหัสแท่งที่สามารถช่วยจำแนกประเภทและชนิดของสินค้าได้ จาก ประเภท ชนิด ลักษณะ ขนาด สี ที่แตกต่างกัน ด้วยการสื่อความหมายระหว่างสื่ออิเล็กทรอนิกส์กับผู้ใช้ ทำให้เกิดความถูกต้อง รวดเร็ว แม่นยำ ระบบ Barcode เป็นระบบรหัสชนิดหนึ่งที่อยู่ในรูปสัญลักษณ์แท่งสีขาวสลับสีดำ ขนาดต่างๆกัน ยาว สั้น หนา บาง ต่างๆกัน เพื่อที่เครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) จะสามารถอ่านและแปลความหมายออกมาในรูปตัวเลขและเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถรับรู้ได้ด้วยการแปลงเป็นสัญญาณดิจิตอล (Digital Signal) www.ssru.ac.th

  14. 885 รหัสประเทศไทย • 0088 รหัสสมาชิกสถาบันรหัสแท่งไทย • 60801 รหัสสินค้า สมาชิกต้องกำหนดขึ้นเอง • 6 ตัวเลขตรวจสอบความถูกต้องของ • คอมพิวเตอร์เพื่อพิสูจน์ว่าตัวเลขทั้งหมดที่ • อยู่ด้านหน้านั้นถูกต้อง เรียกว่า Digit • Number 885 0088 6 0 801 6 www.ssru.ac.th

  15. เครื่องอ่าน Barcode www.ssru.ac.th

  16. รหัส Barcode www.ssru.ac.th

  17. จบการบรรยาย www.ssru.ac.th

  18. แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน • ปัจจัยที่ทำให้การจัดการคลังสินค้าประสบความสำเร็จมีอะไรบ้าง • ให้นักศึกษายกตัวอย่างธุรกิจหรือองค์กรที่ได้นำระบบสารสนเทศมาใช้ อธิบายโดยละเอียด www.ssru.ac.th

More Related