1 / 52

ปัญหาสภาพความเสี่ยง ในห่วงโซ่อาหารสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์

ปัญหาสภาพความเสี่ยง ในห่วงโซ่อาหารสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์. ดร. สุดสาย ตรีวานิช คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ความปลอดภัยของอาหาร. สำคัญต่อประเทศ (เศรษฐกิจ) มีผลต่อสุขภาพผู้บริโภค. ความไม่ปลอดภัยของอาหาร. ตัวอย่างอันตรายต่างๆ antibiotic resistance microorganism

questa
Download Presentation

ปัญหาสภาพความเสี่ยง ในห่วงโซ่อาหารสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ปัญหาสภาพความเสี่ยงในห่วงโซ่อาหารสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ปัญหาสภาพความเสี่ยงในห่วงโซ่อาหารสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ ดร. สุดสาย ตรีวานิช คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  2. ความปลอดภัยของอาหาร สำคัญต่อประเทศ (เศรษฐกิจ) มีผลต่อสุขภาพผู้บริโภค

  3. ความไม่ปลอดภัยของอาหารความไม่ปลอดภัยของอาหาร ตัวอย่างอันตรายต่างๆ antibiotic resistance microorganism pathogenic bacteria ยาตกค้าง ยาฆ่าแมลง สารพิษต่างๆ

  4. สุขลักษณะของอาหารที่มีประสิทธิภาพเพื่อควบคุมความปลอดภัยของอาหารระดับสากล ไม่เฉพาะเพียงผลิตภัณฑ์อาหาร แต่รวมทั้งความปลอดภัยตลอดห่วงโซ่อาหาร ที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ การเพาะปลูก การเพาะเลี้ยง การผลิต การแปรรูป การขนส่ง และการจำหน่าย จนถึงผู้บริโภค

  5. ประเทศไทยในฐานะผู้ส่งออกอาหารรายสำคัญได้รับผลกระทบจากการเปิดการค้าเสรี ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและรับผิดชอบต้องร่วมมือ เตรียมพร้อมกับเงื่อนไขต่างๆของอาหาร

  6. การวิเคราะห์สถานการณ์ของความปลอดภัยและความเสี่ยงการก่ออันตรายในการบริโภคอาหารในห่วงโซ่อาหารของประเทศจะเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยชี้และจำแนกปัญหาที่เกิดขึ้นในแต่ละจุดของห่วงโซ่อาหาร การวิเคราะห์ตามหลักการวิชาการจะช่วยกำจัดหรือสาเหตุต่างๆที่ทำให้เกิดความเสี่ยง

  7. กระทรวงอุตสาหกรรม โดยสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์และอุตสาหกรรมมอบหมายให้คณะอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นแกนกลางในการดำเนินการจัดทำการวิเคราะห์สภาพปัญหาความเสี่ยงของอาหารต่อผู้บริโภค

  8. กลุ่มอาหารหลักที่ศึกษากลุ่มอาหารหลักที่ศึกษา 1. ผัก ผลไม้ และ ผลิตภัณฑ์ 2. สัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ 3. ปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ รวมถึงนมและผลิตภัณฑ์ 4. ธัญพืช ถั่วเมล็ดและผลิตภัณฑ์

  9. ความสำคัญของการวิเคราะห์ปัญหาสภาพความเสี่ยงของสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ความสำคัญของการวิเคราะห์ปัญหาสภาพความเสี่ยงของสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์

  10. ความสำคัญของการประมงของประเทศไทยความสำคัญของการประมงของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2538-2542 มีผลผลิตการประมง 3.4 - 3.6 ล้านตัน/ปี (ติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลก)

  11. ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 ถึงปัจจุบัน ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ส่งออกสินค้าเป็นอันดับหนึ่งของประเทศ ปี พ.ศ. 2544 ส่งออกมูลค่ารวมสองแสนล้านบาท

  12. ปัจจุบันระบบคุณภาพต้องควบคุมตั้งแต่แหล่งที่มาของสัตว์น้ำตลอดจนห่วงโซ่อาหารหรือ EU เรียกว่า Farm to Tableเพื่อสามารถสืบย้อนหาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นกับผลิตภัณฑ์ ซึ่งปัจจุบันยังทำไม่ได้ตลอดห่วงโซ่อาหาร

  13. การบริโภคสัตว์น้ำเป็นที่นิยมเมื่อเปรียบเทียบกับเนื้อสัตว์อื่นๆ เช่น ย่อยง่าย มีกรดไขมันไม่อิ่มตัว การบริโภคสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์อาจก่อให้เกิดการเจ็บป่วยได้ เนื่องจากพิษของสัตว์น้ำเอง จุลินทรีย์หรือสารเคมีต่างๆ และบางทีเป็นการยากที่จะทราบว่ามีอันตรายปนเปื้อนมากับสัตว์น้ำ เนื่องจากสภาพแวดล้อมแหล่งที่เจริญของสัตว์น้ำแตกต่างกัน ดังนั้นชนิดและปริมาณของอันตรายก็อาจต่างกัน

  14. การควบคุมดูแลด้านสุขลักษณะอาหารตามมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศหรือแม้แต่มาตรการที่กำหนดภายในประเทศเองยังไม่ครอบคลุมตลอดห่วงโซ่อาหาร ทำให้การควบคุมความปลอดภัยของอาหารสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ยังไม่มีประสิทธิภาพ

  15. การร่วมมือวิเคราะห์ปัญหาโอกาสเกิดความเสี่ยงของอันตรายที่จะเกิดขึ้นซึ่งมีผลกระทบต่อสุขภาพ เศรษฐกิจย่อมเป็นแนวทางที่จะช่วยแก้ไขและจัดการอันตรายหรือความเสี่ยงให้หมดไป

  16. Risk Profile กระบวนการที่อธิบายความไม่ปลอดภัยของอาหารเพื่อสามารถระบุ จำแนกอันตรายหรือความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องเพื่อช่วยในการจัดการความเสี่ยงนั้นไม่ให้เกิดขึ้นหรือลดลงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้

  17. Risk Profileจะช่วยในการจำแนกอันตราย จัดลำดับ กำหนดจัดตั้งแนวนโยบายเพื่อเลือกใช้ในการกำหนดมาตรฐานความปลอดภัยและการจัดการเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค Risk Profile เป็นกระบวนการหนึ่งใน Risk Evaluation

  18. องค์ประกอบของ Risk Profile 1. ข้อมูลการบริหารรวมทั้งพรรณาเกริ่นนำหัวข้อเรื่องที่ทำ (มาตรการควบคุม พระราชบัญญัติ เป็นต้น) 2.ระบุอันตรายที่ก่อให้เกิดปัญหาและควบคุมยากในอาหารแต่ละประเภท เช่นSalmonella spp. ในกุ้ง 3. แหล่งของอันตรายและการเกิดอันตรายตลอดห่วงโซ่อาหาร (สภาพแวดล้อม การสัมผัสสัตว์ จากคนสู่คน)

  19. 4. ข้อมูลความชุกและปริมาณอันตรายตลอดห่วงโซ่อาหาร 5. ข้อมูลอุบัติการการเกิดโรค ชนิดของอันตราย และความรุนแรงของผลเสียที่เกิดขึ้น 6. กลุ่มประชากรที่ได้รับผลกระทบ 7. การรับรู้ของผู้บริโภคต่อปัญหาความเสี่ยง

  20. 8. ผลกระทบจากอันตรายที่เป็นความเสี่ยงต่อสุขภาพและเศรษฐกิจ 9. ทางเลือกที่มีอยู่ในการจัดการอันตรายที่เป็นความเสี่ยง 10. ผลที่ตามมาจากการที่จัดการหรือจะดำเนินการจัดการรวมทั้งมาตรการป้องกัน 11. พันธะกรณีที่ต้องปฏิบัติในฐานะสมาชิกองค์การค้าโลกเกี่ยวกับความเสี่ยง

  21. การดำเนินงานวิจัย การรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นเพื่อสามารถจัดลำดับความสำคัญของผลิตภัณฑ์อาหาร ทำ hazard profile ที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ วิเคราะห์แผนภูมิ เส้นทางการผลิต การกระจายผลิตภัณฑ์และระบุอันตรายที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ความเสี่ยงของอันตราย จัดลำดับความสำคัญของอันตราย

  22. การดำเนินงานวิจัย ทวนสอบจากการระดมความคิดจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ รวบรวมแนวทางการแก้ไขความเสี่ยงของอันตราย

  23. ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหาสภาพความเสี่ยงในห่วงโซ่อาหารสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหาสภาพความเสี่ยงในห่วงโซ่อาหารสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์

  24. ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาสภาพความเสี่ยงในห่วงโซ่อาหารสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาสภาพความเสี่ยงในห่วงโซ่อาหารสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ ข้อมูลการผลิต ข้อมูลการส่งออก-นำเข้า ข้อมูลการบริโภค ข้อมูลการกักกันสินค้า ข้อมูลการเกิดโรคอาหารเป็นพิษ เป็นต้น

  25. แหล่งสืบค้นข้อมูล งานวิจัย การทดลอง รายงานสัมมนา รายงานการตรวจวิเคราะห์ สื่อต่างๆ หนังสือ ผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงาน การตรวจเฝ้าระวัง

  26. ตาราง รายการสินค้าสัตว์น้ำที่ตรวจสอบไม่ผ่านโดยสหภาพยุโรป ตั้งแต่ มกราคม 2543-กันยายน 2544 ลำดับที่ เดือน/ปี สาเหตุ สินค้าสัตว์น้ำ 1 มี.ค. 43 V. choleraeกุ้งกุลาดำแช่เยือกแข็ง 2 ส.ค. 43 V. choleraeกุ้งกุลาดำแช่เยือกแข็ง 3 ก.ย. 43 V. choleraeกุ้งกุลาดำแช่เยือกแข็ง 4 พ.ย 43 V. choleraeFrozen baby octopus 5 ธ.ค. 43 V. cholerae กุ้งกุลาดำแช่เยือกแข็ง and V. parahaemolyticus ที่มา : กรมประมง (2544)

  27. ตาราง ปริมาณ Oxytetracycline ในกุ้งกุลาดำแช่เยือกแข็ง พ.ศ. วิเคราะห์ ตรวจพบ ปริมาณที่พบ (มก./กก.) (ตัวอย่าง) ตัวอย่าง ร้อยละ ต่ำสุด – สูงสุด เฉลี่ย 2537 1478 22 1.49 0.16 – 0.49 0.26 2538 1567 12 0.77 0.14 – 1.46 0.38 2539 1055 12 1.14 0.13 – 3.31 0.54 2540 628 11 1.75 0.13 – 0.69 0.40 2541 477 3 0.63 0.10 – 2.05 0.77 รวม 5205 60 1.15 0.10 – 3.31 0.39 ที่มา : ปุศยา และสุธาทิพย์ (2543)

  28. ตาราง ผลการตรวจสอบสารบอแรกซ์ในผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ ปี 2540 – 2541 ชนิดตัวอย่างจำนวนตัวอย่าง ตรวจพบ ปริมาณบอร์แรกซ์ ส่งตรวจ ตรวจพบ (ร้อยละ) (มก./กก.) เนื้อปลาขูด 13 10 76.92 484.79-5,375.07 ทอดมันปลากราย 11 9 81.82 521.28 – 1,641.50 ลูกชิ้นปลา 22 6 27.27 309.13 – 1,872.38 ลูกชิ้นปลากราย 23 23 100 809.41 – 2,357.83 ที่มา : ประกายและคณะ (2542)

  29. ตาราง กรณีการเกิดอาหารเป็นพิษจากสัตว์น้ำเป็นพาหะในช่วงปี 2537-2543 ลำดับ เดือน/ Case อาหารที่ สาเหตุ ปี พ.ศ (เสียชีวิต) เป็นพาหะ (อ้างจากหนังสือพิมพ์) 1 4/2543 140 (ไม่มี)ข้าวผัดปู V. parahaemolyticus 2 8/2539 140 (ไม่มี) ข้าวผัดปู จุลินทรีย์หรือ ฟอร์มาลินปนเปื้อน 3 2/2541 102 (ไม่มี) ลูกชิ้นปลา ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด 4 2537-3/2538 84(6) แมงดาถ้วย Tetrodotoxin 5 1-2539 43(ไม่มี)ปูผัดผงกระหรี่ จุลินทรีย์

  30. ข้อมูลสถิติการกักกันสินค้ากลุ่มสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ของไทยข้อมูลสถิติการกักกันสินค้ากลุ่มสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ของไทย ตาราง ประเภทสินค้าที่ถูกกักกันรวมจากทุกประเทศ (ปี 2535-2541) อันดับที่ สินค้า จำนวน (ครั้ง) ร้อยละ 1 Canned shrimp 30 19.6 2 Canned tuna/sardine 29 19.0 3 Fish sauce 18 11.7 รวม 153 100 ที่มา : อรวรรณ (2542)

  31. ตาราง สาเหตุที่ถูกกักกัน อันดับที่ สินค้า จำนวน (ครั้ง) ร้อยละ 1 Inspection 79 51.6 2 Pathogen 27 17.6 3 Labelling 17 11.1 4 Additive 13 8.5 . . . . 7 Antibiotic 1 0.7 รวม 153 100 ที่มา : อรวรรณ (2542)

  32. การเลือกชนิดสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์เพื่อนำมาวิเคราะห์ปัญหาสภาพความเสี่ยงการเลือกชนิดสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์เพื่อนำมาวิเคราะห์ปัญหาสภาพความเสี่ยง จัดลำดับความสำคัญของสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ ปริมาณการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ ปริมาณมูลค่าการส่งออก-การนำเข้า ชนิดอาหารที่มีแนวโน้มว่าอาจเกิดปัญหาอันตรายต่อผู้บริโภค

  33. การแบ่งกลุ่มสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์การแบ่งกลุ่มสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ กลุ่มสัตว์น้ำสด สัตว์น้ำนำเข้า ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ

  34. รูป แผนภูมิแสดงแหล่งที่มาของวัตถุดิบสัตว์น้ำของประเทศไทย • สัตว์น้ำ • ภายในประเทศ นำเข้าจากต่างประเทศ • สัตว์น้ำจืด สัตว์น้ำทะเล • จับจาก จากการ จับจาก จากการ • ธรรมชาติ เพาะเลี้ยง ธรรมชาติ เพาะเลี้ยง

  35. รูป แผนภูมิแสดงการกระจายสัตว์น้ำ • สัตว์น้ำ • มีชีวิตสัตว์น้ำสด สัตว์น้ำแปรรูป • บรรจุ บริโภคสด เค็ม/แห้ง รมควัน บรรจุกระป๋อง แช่เย็น แช่แข็ง หมักดอง อื่นๆ • ตลาดกลาง ตลาดกลาง • ส่งออก ส่งขายภายในประเทศ ส่งออก • ตลาดสด ซูเปอร์มาร์เก็ต ร้านอาหาร/โรงแรม พ่อค้าย่อย • ผู้บริโภค

  36. จัดทำแผนภูมิห่วงโซ่อาหารจากสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์จัดทำแผนภูมิห่วงโซ่อาหารจากสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ วิเคราะห์แผนภูมิเส้นทางการผลิตและการกระจายผลิตภัณฑ์ครอบคลุมตั้งแต่การเพาะเลี้ยง การขนส่ง การแปรรูป การการจำหน่าย และการบริโภค

  37. ตัวอย่างแผนภูมิกระบวนการผลิตและการกระจายสัตว์น้ำตัวอย่างแผนภูมิกระบวนการผลิตและการกระจายสัตว์น้ำ แผนภูมิกระบวนการผลิตและการกระจายสัตว์น้ำจืด(ธรรมชาติ) แผนภูมิกระบวนการผลิตและการกระจายสัตว์น้ำจืด(เพาะเลี้ยง) แผนภูมิกระบวนการผลิตและการกระจายสัตว์น้ำทะเล(ธรรมชาติ) แผนภูมิกระบวนการผลิตและการกระจายสัตว์น้ำทะเล(เพาะเลี้ยง)

  38. ตัวอย่างแผนภูมิกระบวนการผลิตและการกระจายสัตว์น้ำตัวอย่างแผนภูมิกระบวนการผลิตและการกระจายสัตว์น้ำ แผนภูมิกระบวนการผลิตและการกระจายกุ้งแห้ง แผนภูมิกระบวนการผลิตและการกระจายน้ำปลา แผนภูมิกระบวนการผลิตและการกระจายปลาร้า แผนภูมิกระบวนการผลิตและการกระจายเนื้อปูต้มแช่เย็น แผนภูมิกระบวนการผลิตและการกระจายกุ้งแช่เยือกแข็ง แผนภูมิกระบวนการผลิตและการกระจายปลาทูน่าบรรจุกระป๋อง

  39. ตัวอย่างแผนภูมิกระบวนการผลิตและการกระจายสัตว์น้ำจืด (เพาะเลี้ยง) 1. ลูกกุ้ง/ลูกปลา 2. การเลี้ยง 3. จับ 4. บรรจุ 5. ขนส่ง

  40. ตัวอย่างแผนภูมิกระบวนการผลิตและการกระจายสัตว์น้ำจืด (เพาะเลี้ยง) 6. ผู้รวบรวม 7.1 ตลาดสด 7.2 โรงงาน 8. ผู้บริโภค

  41. วิเคราะห์ระบุอันตรายและปัจจัยที่อาจเกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการผลิตและการกระจาย อันตรายมี 3 ชนิด ทางชีวภาพ ทางเคมี และทางกายภาพ ต้องระบุชัดเจนเพื่อมีวิธีการจัดการที่เหมาะสม

  42. การวิเคราะห์ระบุอันตรายการวิเคราะห์ระบุอันตราย รายงานการวิเคราะห์ รายงานการระบาดวิทยา รายงานการกักกันสินค้า มาตรฐานอาหาร งานวิจัย ข้อมูลการบริโภค ข้อมูลจากสัตว์ทดลอง ผู้เชี่ยวชาญ

  43. การวิเคราะห์อันตรายที่เกี่ยวข้องในกระบวนการผลิตและการกระจายสัตว์น้ำจืด (เพาะเลี้ยง) ลำดับที่ ขั้นตอน ปัจจัย อันตรายที่เกี่ยวข้อง 1. ลูกสัตว์น้ำ ลูกสัตว์น้ำ B: ตัวอย่างเช่น Parasite A. hydrophila Salmonella spp. C: ตัวอย่างเช่น Antibiotic P: ไม่มี

  44. การวิเคราะห์อันตรายที่เกี่ยวข้องในกระบวนการผลิตและการกระจายสัตว์น้ำจืด (เพาะเลี้ยง) ลำดับที่ ขั้นตอน ปัจจัย อันตรายที่เกี่ยวข้อง 2. การเลี้ยงสัตว์น้ำ(กุ้ง) อาหาร น้ำ B: ตัวอย่างเช่น สุขอนามัยฟาร์ม Parasite A. hydrophila Salmonella spp. Viruses C: ตัวอย่างเช่น Antibiotic, Heavy metal, Pesticide P: ไม่มี

  45. วิเคราะห์ความเสี่ยงของอันตรายในผลิตภัณฑ์วิเคราะห์ความเสี่ยงของอันตรายในผลิตภัณฑ์ พิจารณาจากความรุนแรงของอันตรายและโอกาส

  46. ความรุนแรง(Severity) ความรุนแรงมาก เช่น Clostridium botulinum, Escherichia coli O157:H7, Vibrio cholerae , Paralytic Shellfish Poison เป็นต้น ความรุนแรงปานกลาง เช่น Salmonella, HAV, mycotoxin เป็นต้น ความรุนแรงน้อย เช่น Bacillus, Clostridium perfringens, โลหะหนัก เป็นต้น

  47. รูปแบบการประเมินความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพแบบ 2 มิติ สูงSaMiMaCr ปานกลางSaMiMa Ma ต่ำSaMi Mi Mi ละเลยได้Sa Sa Sa Sa ละเลยได้ต่ำ ปานกลาง สูง ความรุนแรงของอันตรายที่เกิดขึ้น โอกาสใน การเกิด อันตราย

  48. การจัดลำดับชนิดอันตรายที่มีความเสี่ยงในสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์การจัดลำดับชนิดอันตรายที่มีความเสี่ยงในสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ ความสำคัญต่อสุขภาพของผู้บริโภคและต่อเศรษฐกิจ (อาศัยข้อมูลต่างๆ) ทำให้เกิดการแก้ไขหรือมีมาตรการที่เหมาะสมในการควบคุม ป้องกันปัญหาจากชนิดของอันตราย

  49. ชนิดของจุลินทรีย์ที่มีบทบาทสำคัญในกลุ่มสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ชนิดของจุลินทรีย์ที่มีบทบาทสำคัญในกลุ่มสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ Vibrio parahaemolyticus Salmonella spp. Vibrio cholerae Staphylococcus aureus (Toxin) พยาธิใบไม้ในตับ

  50. ชนิดของสารเคมีที่มีบทบาทสำคัญในกลุ่มสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ชนิดของสารเคมีที่มีบทบาทสำคัญในกลุ่มสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ Aquaculture drugs Tetrodotoxin Paralytic Shellfish Poisoning Scombroid toxin (Histamine) Borax Staphylococcus aureus (Toxin)

More Related