1 / 69

โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน

The heat is on. โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน. โดย นายบรรพต ดิสกุล กลุ่มกำกับการอนุรักษ์พลังงาน 1. Barrels. ปริมาณน้ำมันสำรองของโลก. การใช้น้ำมันของโลก. 40 ปี. คงเหลือใช้ได้อีก. Barrels. ปริมาณสำรองปิโตรเลียมของประเทศไทย. การใช้ปิโตรเลียมของประเทศไทย. 15 ปี. คงเหลือใช้ได้อีก.

qabil
Download Presentation

โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. The heat is on โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน โดย นายบรรพต ดิสกุล กลุ่มกำกับการอนุรักษ์พลังงาน 1

  2. Barrels ปริมาณน้ำมันสำรองของโลก การใช้น้ำมันของโลก 40 ปี คงเหลือใช้ได้อีก

  3. Barrels ปริมาณสำรองปิโตรเลียมของประเทศไทย การใช้ปิโตรเลียมของประเทศไทย 15 ปี คงเหลือใช้ได้อีก

  4. รูปแบบของพลังงาน มนุษย์รู้จักการใช้พลังงานตั้งแต่ดึกดำบรรพ์และนำพลังงานมาใช้ในการสร้างความเจริญทางเทคโนโลยี โดยรูปแบบพลังงานสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือ พลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) พลังงานสิ้นเปลือง (Modern Energy)

  5. พลังงานสิ้นเปลือง (Modern Energy)

  6. พลังงานจากน้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติและถ่านหิน จัดเป็นพลังงานสิ้นเปลือง พลังงานสิ้นเปลือง (Modern Energy)

  7. ฟอสซิลหรืออินทรีย์สารในยุคดึกดำบรรพ์ที่ตายและถูกน้ำฝนชะล้างลงสู่แม่น้ำและทะเลฟอสซิลหรืออินทรีย์สารในยุคดึกดำบรรพ์ที่ตายและถูกน้ำฝนชะล้างลงสู่แม่น้ำและทะเล รูปแบบการเกิดปิโตรเลียม

  8. การขุดเจาะปิโตรเลียม

  9. การสร้างแท่นขุดเจาะปิโตรเลียมที่อ่าวไทยการสร้างแท่นขุดเจาะปิโตรเลียมที่อ่าวไทย

  10. แท่นหลุมผลิต (WELLHEAD PLATFORM)

  11. High-Pressure Flare (HP) แท่นเผาก๊าซธรรมชาติความดันสูง Low-Pressure Flare (LP) แท่นเผาก๊าซธรรมชาติความดันต่ำ Riser Platform (RP) แท่นอุปกรณ์เสริม Wellhead Platform (WP) แท่นหลุมผลิต Quarter Platform (QP) แท่นที่พักอาศัย Production Platform (PP) แท่นกระบวนการผลิต

  12. เรือผลิตและกักเก็บน้ำมันดิบเรือผลิตและกักเก็บน้ำมันดิบ เรือกักเก็บก๊าซธรรมชาติเหลว “เอราวัณ”

  13. แหล่งพลังงานสิ้นเปลืองที่ประเทศไทยสามารถผลิตได้แหล่งพลังงานสิ้นเปลืองที่ประเทศไทยสามารถผลิตได้

  14. การผลิตปิโตรเลียม

  15. นอกจากปิโตรเลียมจะพบในทะเลเป็นส่วนใหญ่ แต่ก็สามารถพบได้บนบกของประเทศในแถบตะวันออกกลาง

  16. โรงแยกก๊าซ 1-5 DEW POINT CONTROL UNIT การใช้ประโยชน์จากก๊าซธรรมชาติ นำเข้าจากพม่า เชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้า C1 เชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม เชื้อเพลิงรถยนต์ (NGV) C2 , C3 วัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมี จากอ่าวไทย C3+C4 C1 Methane C2 Ethane C3 Propane C3+C4 LPG C5+ NGL CO2 CO2 ก๊าซหุงต้ม (LPG) C 5+ ควบแน่นเป็นของเหลว ส่งขายโรงกลั่น C 5+ วัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมี CO2 อุตสาหกรรมถนอมอาหาร

  17. การใช้ประโยชน์จากน้ำมันดิบการใช้ประโยชน์จากน้ำมันดิบ From Bangchak Website

  18. ผลกระทบจากการใช้พลังงานสิ้นเปลืองผลกระทบจากการใช้พลังงานสิ้นเปลือง การเผาไหม้ของพลังงานสื้นเปลืองก่อให้เกิดภาวะก๊าซเรือนกระจก ที่เรียกว่า Human Made Greenhouse Effect

  19. ภาวะก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติที่ห่อหุ้มโลก เพื่อให้ความอบอุ่นกับสิ่งมีชีวิต

  20. 1) รังสีแสงอาทิตย์ 2) สะท้อนกลับสู่อวกาศ 3) ดูดซึมโดยชั้นบรรยากาศ 3) ดูดซึมโดยชั้นบรรยากาศ 4) รังสีอินฟราเรดสะท้อนกลับสู่ ชั้นบรรยากาศ 2 5) รังสีอินฟราเรดบางส่วนทะลุ ผ่านชั้นบรรยากาศออกไปได้ 1 3 3 6) แต่บางส่วนไม่สามารถสะท้อน กลับไปได้เนื่องจากโมเลกุล ของก๊าซเรือนกระจกจึงถูก ดูดซึมกลับมายังโลกอีก 4 6 5 การเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศเนื่องจากปฏิกิริยาของก๊าซเรือนกระจก ผลกระทบของการเพิ่มอุณหภูมิบนโลก

  21. ตัวอย่างการเกิดภาวะเรือนกระจกที่เกิดจากมนุษย์ นำพลังงานสิ้นเปลืองมาเผาไหม้

  22. ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งถือเป็นก๊าซเรือนกระจกที่สำคัญปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งถือเป็นก๊าซเรือนกระจกที่สำคัญ และทำให้โลกร้อนของประเทศต่าง ๆ

  23. 186 ประเทศ ที่ร่วมลงนามใน พิธีสารเกียวโต

  24. สภาวะเรือนกระจก (greenhouse effect) CO2, CH4, CFC

  25. ภาพเปรียบเทียบการละลายของหิมะที่ขั้วโลกเหนือทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นภาพเปรียบเทียบการละลายของหิมะที่ขั้วโลกเหนือทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น

  26. แผ่นดินอินโดจีนเมื่อ 20,000 ปีที่ผ่านมา Southeast Asia 20,000 years ago (400 feet below today) Chirapol Sintunawa,GLF

  27. แผ่นดินอินโดจีนหากระดับน้ำทะเลสูงขึ้น 17 ฟุต Southeast Asia if West sheet melted (17-foot rise) Chirapol Sintunawa,GLF

  28. อินโดจีนหากระดับน้ำทะเลสูงขึ้น 170 ฟุต Southeast Asia if East sheet melted (170-foot rise) Chirapol Sintunawa,GLF

  29. ภัยธรรมชาติจากสึนามิ เป็นอีกตัวอย่างสำคัญของภาวะโลกร้อน

  30. 10.17 11.22 11.00 10.20 การเกิดสึนามิในประเทศไทย เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547

  31. การเกิดแผ่นดินไหวที่บริเวณสุมาตราและมหาสมุทรอินเดียการเกิดแผ่นดินไหวที่บริเวณสุมาตราและมหาสมุทรอินเดีย

  32. Qian Tang Jiang River, Hangzhou, Zhejiang, China - 10/2002 China 2002

  33. สถิติจำนวนการเกิดแผ่นดินไหว ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ปี พ.ศ. 8.0-9.9 1 1 0 1 2 1

  34. ในปัจจุบัน จังหวัดสมุทรปราการ ถูกน้ำทะเลกัดเซาะจมน้ำไปแล้ว 11,104 ไร่ หลักเขตกรุงเทพมหานครที่ 2828(กั้นเขตบางขุนเทียนกับอ่าวไทย ปัจจุบันห่างชายฝั่ง 800 เมตร) โบสถ์วัดขุนสมุทราวาส สมุทรปราการ เคยห่างจากฝั่งทะเล 11 กิโลเมตร แต่ปัจจุบันบางส่วนกำลังจมน้ำทะเล

  35. ดังนั้น มนุษย์จะต้องตระหนัก ถึงการใช้พลังงานสิ้นเปลือง และ การเกิดก๊าซภาวะเรือนกระจกของโลก

  36. นอกจากนี้ การนำพลังงานสิ้นเปลืองมาใช้ก็ยังหนีไม่พ้นการทำลายระบบนิเวศน์

More Related