1 / 44

บทบาทของเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกับการปฏิบัติงานด้านมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารในจังหวัด

บทบาทของเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกับการปฏิบัติงานด้านมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารในจังหวัด. สมชาย ชาญณรงค์กุล รองผู้อำนวยการสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ โทร. 02-280-3882 โทรสาร 02-280-3886 E-mail: somchaic@acfs.go.th.

Download Presentation

บทบาทของเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกับการปฏิบัติงานด้านมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารในจังหวัด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาทของเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกับการปฏิบัติงานด้านมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารในจังหวัดบทบาทของเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกับการปฏิบัติงานด้านมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารในจังหวัด สมชาย ชาญณรงค์กุล รองผู้อำนวยการสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ โทร. 02-280-3882 โทรสาร 02-280-3886 E-mail: somchaic@acfs.go.th การบรรยายพิเศษในการประชุมสัมมนา กลยุทธ์สู่ความสำเร็จในการปฏิบัติงานของสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด วันที่ 7 กันยายน 2550 ณ โรงแรมปรินซ์พาเลซ กรุงเทพฯ จัดโดย สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  2. องค์ประกอบการบรรยาย • บทนำ • ความรู้เรื่องมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร • การดำเนินงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ด้านมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร • บทบาทของ กษ.จังหวัดในการสนับสนุนมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร • บทสรุป

  3. บทนำ

  4. ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าและศุลกากร (GATT) พัฒนาเป็นองค์การการค้าโลก (WTO) ในปี 2538 อยู่ภายใต้ UN • บทบาทสำคัญของ WTO • กำหนดข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ • เวทีสำหรับการเจรจาต่อรอง ตกลง และขจัดข้อขัดแย้งในเงื่อนไขและกฏเกณฑ์ทางการค้าระหว่างประเทศสมาชิก • การลดความสำคัญของมาตรการทางภาษี และให้ความสำคัญต่อมาตรการที่มิใช่ภาษีมากขึ้น (NTBs)  SPS/TBT Agreement • มาตรฐานสินค้า = NTBs ?

  5. NTBs Inventory Part III Technical Barriers to Trade A General B Technical regulations and standards C Testing and certification arrangements “technical barriers to trade” Part IV Sanitary and Phytosanitary Measures A General B SPS measures including chemical residue limits. disease freedom, specified product treatment, etc. C Testing, certification and other conformity arrangements ที่มา : Ulrich Hoffman , UNCTAD secretariat

  6. มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร Food Safety Food Standards International Standards

  7. Office International des Epizooties • องค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ ก่อตั้งปี 1924 • กำหนดมาตรฐาน • สุขภาพสัตว์และสัตว์น้ำ • สวัสดิภาพสัตว์ • การชันสูตรโรค • ความปลอดภัยอาหารที่เกี่ยวเนื่องจากสัตว์ • สำนักงานใหญ่ : กรุงปารีส ฝรั่งเศส

  8. Codex : Joint FAO/WHO Food Standards Programme • โครงการมาตรฐานอาหารของ FAO/WHO ก่อตั้งปี 1961/62 • วัตถุประสงค์ : ปกป้องสุขอนามัยผู้บริโภค/เป็นธรรมทางการค้า • มาตรฐานอาหารของ Codex • มาตรฐานอาหารที่เกี่ยวกับเรื่องทั่วไป (General Subject Standards) • มาตรฐานอาหารที่เกี่ยวกับสินค้าอาหาร (Commodity Standards) • มาตรฐานของกลุ่มภูมิภาค (Regional Standards) • สำนักงานใหญ่ : กรุงโรม อิตาลี

  9. International Plant Protection Convention IPPC • อนุสัญญาว่าด้วยการอารักขาพืชระหว่างประเทศเริ่มปี 1952 • วัตถุประสงค์ : • สร้างความร่วมมือระหว่างประเทศในการควบคุมศัตรูพืชทั้งทางกฎหมายและทางวิชาการ แลกเปลี่ยนข้อมูล ประสานมาตรการและแนวทางปฏิบัติ • ครอบคลุม : พืชปลูก ผลิตภัณฑ์พืช พืชในสภาพธรรมชาติ • สำนักงานใหญ่ : กรุงโรม อิตาลี

  10. มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร “FOOD SAFETY” • Physical • Microbiological • Hazardous Substances • Food Additives • Biotechnology

  11. ความรู้เรื่องมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารความรู้เรื่องมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  12. ความหมายของมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารความหมายของมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ระเบียบหรือแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะต่างๆ ของตัวสินค้าเกษตรวิธีและขั้นตอนการผลิตรวมถึงการดำเนินการเกี่ยวกับสุขลักษณะ ความปลอดภัยมาตรฐานจะต้องเกิดจากการร่วมกันระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค และต้องได้รับการยอมรับจากทั้งสองฝ่าย เพื่อให้มาตรฐานถูกนำมาใช้เป็นบรรทัดฐานในการดำเนินการทางการผลิตสินค้าเกษตรนั้น

  13. วัตถุประสงค์ของการกำหนดมาตรฐานวัตถุประสงค์ของการกำหนดมาตรฐาน 1.เป็นเครื่องมือในการปรับปรุงคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด และมาตรฐานสากล 2. คุ้มครองเกษตรกรและผู้บริโภคให้ได้รับความเป็นธรรม 3. ใช้เป็นเครื่องมือในการอำนวยความสะดวกทางการค้า 4. เป็นเครื่องมือในการเจรจาทางการค้า

  14. หลักการกำหนดมาตรฐาน 1. ต้องเป็นไปตามความต้องการ/วัตถุประสงค์ของภาคการผลิต วิชาการ รวมถึงเศรษฐกิจ 2. ต้องปกป้องผลประโยชน์ และส่วนได้ส่วนเสียของผู้ผลิตและผู้บริโภค 3. ต้องมาจากการเห็นพ้องต้องกัน (Consensus) 4. ต้องมีลักษณะที่ปฏิบัติได้ และทันต่อความก้าวหน้าทางวิชาการ เทคโนโลยี เศรษฐศาสตร์

  15. หลักการกำหนดมาตรฐาน 5. ต้องมั่นใจว่าก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดทางเศรษฐกิจของประเทศ 6. ต้องเป็นตัวกระตุ้นหรือเร่งรัดให้มีการพัฒนาหรือให้มีการนำไปปฏิบัติ 7. ต้องเป็นเรื่องที่สามารถแก้ไข ทบทวน/ปรับปรุงให้ทันสมัยเสมอ

  16. องค์ประกอบของระบบมาตรฐานสินค้าเกษตรองค์ประกอบของระบบมาตรฐานสินค้าเกษตร • มาตรฐาน • (Standard) • หน่วยรับรองระบบงาน • (Accreditation Body-AB) • หน่วยรับรอง • (Certification Body- CB)

  17. ประเภทของมาตรฐาน • แบ่งตามผู้กำหนดมาตรฐาน • มาตรฐานภาครัฐ • มาตรฐานของ Codex , IPPC , OIE  WTO ยอมรับ/อ้างอิง • มาตรฐานภาคเอกชน • มาตรฐาน EurepGAP, ISO, SwissGAP  การค้าเฉพาะกลุ่ม

  18. ประเภทของมาตรฐาน • แบ่งตามรูปแบบของมาตรฐาน • มาตรฐานสินค้า • ลำไย มังคุด ทุเรียน กล้วยไม้ ปลานิล เนื้อสุกร ไข่ไก่ ฯลฯ • มาตรฐานระบบ • การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี เกษตรอินทรีย์ การปฏิบัติที่ดีในการผลิตสัตว์น้ำ ฯลฯ • มาตรฐานทั่วไป • หลักการวิเคราะห์ความเสี่ยง สารพิษตกค้าง อาหารฮาลาล ฯลฯ

  19. ขั้นตอนในการกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารขั้นตอนในการกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร 1 2 พิจารณาเรื่องที่กำหนดมาตรฐาน แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ/อนุฯเฉพาะกิจ 3 4 คณะอนุฯ พิจารณาร่าง จัดทำร่าง/ยอมรับมาตรฐานระหว่างประเทศ 5 IPPC CODEX OIE 6 ประชาพิจารณ์/เวียนขอความเห็น เสนอคณะกรรมการมาตรฐานฯแห่งชาติ 8 ประกาศใช้มาตรฐาน 7 แจ้ง WTOกรณีมาตรฐานบังคับ 9 มาตรฐานบังคับ มาตรฐานสมัครใจ ทบทวนมาตรฐาน (ครบ 5ปี/มีข้อเสนอ)

  20. การดำเนินงานของ กษ. ด้านมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  21. การดำเนินงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์การดำเนินงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • ความปลอดภัยอาหารเป็นนโยบายหลักของกระทรวง • ให้ความสำคัญทั้งความปลอดภัยคนไทยและการส่งออก • ใช้มาตรฐานเป็นเครื่องมือในการจัดการความปลอดภัยอาหาร - กำหนดมาตรฐาน - ส่งเสริมให้เกษตรกร/ผู้ประกอบการนำมาตรฐานไปใช้ - ควบคุม ตรวจสอบ รับรองตามมาตรฐาน • การประกาศใช้เครื่องหมายรับรองสินค้าเกษตรและอาหาร

  22. กระบวนการควบคุมคุณภาพสินค้าเกษตรกระบวนการควบคุมคุณภาพสินค้าเกษตร ตลาด แหล่งวัตถุดิบ จัดเก็บ คัดเลือก - ผลิต ขนส่ง บรรจุ ผู้บริโภค Traceability - การตรวจสอบย้อนกลับ

  23. ROAD MAP OF FOOD SAFETY ROAD MAP OF FOOD SAFETY ยุทธศาสตร์ตาม ยุทธศาสตร์ตาม ยุทธศาสตร์ที่ 1 ควบคุมคุณภาพปัจจัยการผลิต ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและรับรองระบบฟาร์มมาตรฐาน FROM FARM TO TABLE ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและรับรองโรงงาน/โรงงานแปรรูปมาตรฐาน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ควบคุมคุณภาพผลผลิต ยุทธศาสตร์ที่ 5 สนับสนุนและแก้ไขปัญหาการกีดกันทางการค้า

  24. Road Map of Food Safety กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ Road Map of Food Safety กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปัจจัยการผลิต นำเข้า ฟาร์ม/ แหล่งผลิต โรงงาน/ โรงงานแปรรูป ผลผลิต สนับสนุน การค้า ผลลัพธ์ (Outcomes) ตรวจสอบปัจจัยการผลิต/ วัตถุดิบ/เคมีภัณฑ์/ วัตถุมีพิษเกษตร (กปศ. กปม. กวก.) ตรวจรับรอง ฟาร์มมาตรฐาน (กปศ. กปม. กวก.) ตรวจรับรอง โรงงานมาตรฐาน (กปศ. กปม. กวก.) ตรวจรับรองผลผลิต ก่อนส่งออก (กปศ. กปม. กวก.) เพิ่มมูลค่าการส่งออก สินค้าเกษตรและอาหาร เจรจาแก้ไขปัญหาทาง เทคนิค : SPS (มกอช./กรมที่เกี่ยวข้อง) Early Warning System (มกอช.) รับรอง CB ด้าน GAP,GMP /HACCP, Organic (มกอช.) ขึ้นทะเบียน Lab ที่ได้มาตรฐาน (มกอช.) ลดปัญหาการกักกัน สินค้าเกษตรและอาหาร ของไทย Pilot Project on RASFF (มกอช.) - แนะนำส่งเสริมสมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรขึ้นทะเบียนฟาร์ม - ฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร (กสส.) ตรวจสอบย้อนกลับ (มกอช. กปศ. กปม. กวก.) ประชาสัมพันธ์/ประเมินผล Food Safety (มกอช.) - จำแนกพื้นที่ (จัดประชุม/ เก็บข้อมูล/ประเมินผล) - บูรณาการแผนพัฒนาการเกษตร - ขึ้นทะเบียนเกษตรกร - ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต สินค้าเกษตรปลอดภัย/เกษตร อินทรีย์แก่เจ้าหน้าที่+เกษตรกร - จัดประชุม/สร้างเครือข่าย (กสก.) รณรงค์/ส่งเสริมการใช้ สัญลักษณ์ Q (มกอช.)

  25. บทบาทของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์บทบาทของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พืช กิจกรรม ปศุสัตว์ ประมง มกอช. กำหนดมาตรฐาน กรมปศุสัตว์ กรมประมง กรมส่งเสริมการเกษตร ส่งเสริมการผลิตตามมาตรฐาน กรมวิชาการเกษตร กรมปศุสัตว์ กรมประมง ให้การตรวจสอบรับรอง มกอช. ทวนสอบระบบการรับรอง

  26. เครื่องหมายรับรองมาตรฐานเครื่องหมายรับรองมาตรฐาน สินค้าเกษตรและอาหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • ประเภทการรับรอง • รับรองสินค้าอาหาร • รับรองระบบการจัดการด้านความปลอดภัย/คุณภาพอาหาร • รับรองสินค้าที่ไม่ใช่อาหาร • รับรองระบบอื่นๆ ที่ไม่ใช่ด้านความปลอดภัย/คุณภาพอาหาร

  27. หน่วยรับรอง (CB)ดำเนินการให้การรับรอง กรมวิชาการเกษตร - สินค้าพืชและผลิตภัณฑ์ กรมประมง - สินค้าประมงและผลิตภัณฑ์ กรมปศุสัตว์ - สินค้าปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ กรมพัฒนาที่ดิน - ปัจจัยการผลิต CB เอกชน - ตามขอบข่ายที่ได้รับการรับรอง สินค้าเกษตรและอาหาร แจ้งฐานข้อมูลการให้การรับรอง ให้เลขรหัสมาตรฐานที่ให้การรับรอง(GAP/GMP/HACCP/Organic) และหน่วยรับรอง กษ xx-xx-xxxxx-xxxxxxx-xxx -1 - 2 – 3 - 4 - 5 1= หน่วยรับรอง 2= ประเภทการรับรอง 3= มาตรฐานที่ให้การรับรอง 4= บริษัท/ผู้ประกอบการ/ฟาร์ม 5= ชื่อ/ชนิด/ประเภทสินค้า มกอช. • หน่วยรับรองระบบงาน (AB) • จัดทำหลักเกณฑ์เงื่อนไขการให้การรับรอง • ระบุประเภทการให้การรับรอง • ระบุมาตรฐานที่ใช้

  28. รับสมัคร/ขึ้นทะเบียน/ออกรหัสเข้าสู่ระบบ GAP (กรมส่งเสริมการเกษตร) ผู้ให้คำปรึกษาแนะนำเกษตรกร (กรมส่งเสริมการเกษตร) ประเมินเบื้องต้นและรวบรวมเกษตรกรที่ผ่าน ปรับปรุง (กรมส่งเสริมการเกษตร) คณะผู้ตรวจรับรองนัดหมาย/ตรวจรับรองแปลงเกษตรกร (กรมวิชาการเกษตร) =ข้าว= กรมการข้าวรับผิดชอบ ไม่ผ่าน สรุปผลการตรวจรับรองแปลง (คณะกรรมการฯของ สวพ. 1-8) ผ่าน ส่งใบ Q ออกใบรับรองการผลิตพืช GAP(กวก.) ตรวจติดตามแปลงที่ได้รับการรับรอง(กวก.)

  29. ใบรับรอง

  30. บทบาทของ กษ.จังหวัดในการสนับสนุนมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  31. เกษตรและสหกรณ์จังหวัดกับมาตรฐานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกับมาตรฐาน คำสั่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ 83/2550 ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2550 ข้อ 6 ให้เกษตรและสหกรณ์จังหวัดเป็นผู้ประสานการผลิตสินค้าเกษตรภายในจังหวัดให้มีมาตรฐานและมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค

  32. บทบาทของเกษตรและสหกรณ์จังหวัด • ส่งเสริมฟาร์ม GAP/CoC • ส่งเสริมโรงงาน GMP/HACCP • ส่งเสริมการตลาดสินค้า Q • ส่งเสริมการควบคุมปัจจัยการผลิตและโรคระบาด • ศูนย์กลางข้อมูลด้านการมาตรฐาน

  33. กลยุทธการดำเนินงานของเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกลยุทธการดำเนินงานของเกษตรและสหกรณ์จังหวัด • บรรจุงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารไว้ในยุทธศาสตร์ หรือแผนพัฒนาจังหวัด และ KPI ของหน่วยงานหลัก • บูรณาการงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในรูปคณะกรรมการส่งเสริมการมาตรฐานในระดับจังหวัด • บูรณาการแผนปฏิบัติการโครงการที่เกี่ยวข้องกับการมาตรฐานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในระดับจังหวัด

  34. แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมฟาร์ม GAP/CoC - ประชาสัมพันธ์ยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาจังหวัดด้านการส่งเสริมฟาร์มมาตรฐานให้ท้องถิ่นทราบ - เป็นผู้ประสานงานในการกำหนดเป้าหมายฟาร์มมาตรฐานระดับจังหวัด - ติดตามการดำเนินงานตามแผนการส่งเสริมของหน่วยงานหลัก

  35. แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ส่งเสริมโรงงาน GMP/HACCP - ประชาสัมพันธ์ยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาจังหวัดด้านการส่งเสริมโรงงานมาตรฐานให้ท้องถิ่นทราบ - เป็นผู้ประสานงานในการกำหนดเป้าหมายโรงงานมาตรฐานระดับจังหวัดร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง เช่น อุตสาหกรรมจังหวัด อบจ. หน่วยรับรองของ กษ. - ติดตามการดำเนินงานตามแผนการส่งเสริมของหน่วยงานหลัก

  36. แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ส่งเสริมการตลาดสินค้า Q - ประชาสัมพันธ์เชิงยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมการตลาดสินค้า Q ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ - กำหนดตลาดเป้าหมายและแผนการส่งเสริมการตลาดสินค้า Q ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ประชาสัมพันธ์ ปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ จัดหาแหล่งรับซื้อ-แหล่งจำหน่าย - ติดตามการดำเนินงานตามแผนการส่งเสริมการตลาดของหน่วยงานหลัก

  37. แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ส่งเสริมการควบคุมปัจจัยการผลิต/โรคระบาด - สนับสนุนการปฏิบัติงานของสารวัตรเกษตร/สารวัตรปศุสัตว์ - ร่วมการประชาสัมพันธ์การควบคุมและการใช้ปัจจัยการผลิตที่ถูกต้องตามหลักทางวิชาการ - สนับสนุนการดำเนินงานควบคุมโรคระบาดของหน่วยงานหลัก

  38. แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ศูนย์ข้อมูลด้านการมาตรฐาน - แหล่งฐานข้อมูลทางการเกษตรเพื่อใช้ในการวางแผนและประเมินผลงานด้านการมาตรฐาน - แหล่งข้อมูลด้านการมาตรฐานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - วิเคราะห์และประเมินการปฏิบัติงานด้านการมาตรฐานของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  39. การประสานงาน สนับสนุนและบรูณาการแผนปฎิบัติการ 1. ต่อยอดโครงการ Food Safety ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน 2. สนับสนุนโครงการ GAP/CoC ของหน่วยงานหลัก 3. สนับสนุนการปฏิบัติงานโครงการเกษตรอินทรีย์ 4. สนับสนุนการดำเนินโครงการผลิตสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออก 5. ประสานงานเชื่อมโยงผู้ผลิตและผู้ค้าสินค้าเกษตรคุณภาพในระดับจังหวัด

  40. การประสานงาน สนับสนุนและบรูณาการแผนปฎิบัติการ(ต่อ) 6. การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการมาตรฐาน เพื่อสร้างเครือข่ายในจังหวัด 7. สำรวจติดตามและศึกษาปัญหาการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพมาตรฐานและความปลอดภัยในระดับจังหวัด 8. ให้ความร่วมมือในการเตือนภัยเร่งด่วนกรณีเกิดปัญหาเกี่ยวกับความปลอดภัยสินค้าเกษตรและอาหาร 9. สนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานตรวจรับรอง (CB) 10. สร้างความเข้าใจและรณรงค์ความสำคัญด้าน Food Safety ในจังหวัด

  41. บทสรุป

  42. มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ : มาตรฐานของประเทศ • มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารใช้เป็นเกณฑ์อ้างอิงในทางการค้า • หน่วยตรวจรับรอง : กปศ. กปม. กวก. กพด. • หน่วยสนับสนุน : กสก. กสส. สป.กษ. สศก. • หน่วยรับรองระบบงาน : มกอช. • สำนักเกษตรและสหกรณ์จังหวัด : • หน่วยราชการบริหารส่วนภูมิภาคสังกัด สป.กษ. • หน้าที่หลัก : จัดทำยุทธศาสตร์การเกษตรและวางแผนพัฒนาการเกษตรของจังหวัด • ติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติการตามแผนงาน/โครงการ • ความคาดหวังต่อสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดด้านมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร • Contact Point ของ กษ.

  43. ถาม & ตอบ

  44. ผู้บริโภคปลอดภัย เกษตรกรไทยมั่งคั่ง Consumer’s Safety , Prosperity for All

More Related