1 / 47

ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน ว่าด้วยการส่งเสริมการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ปี ๒๕๕๕

ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน ว่าด้วยการส่งเสริมการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ปี ๒๕๕๕. นาย สมพงษ์ จวงพันธ์ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ กลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน. การปฏิบัติงานตามระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน. 01. ความหมายและคำจำกัดความ. 02. วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์.

prince
Download Presentation

ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน ว่าด้วยการส่งเสริมการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ปี ๒๕๕๕

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชนระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน ว่าด้วยการส่งเสริมการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ปี ๒๕๕๕ นายสมพงษ์ จวงพันธ์ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ กลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน

  2. การปฏิบัติงานตามระเบียบกรมการพัฒนาชุมชนการปฏิบัติงานตามระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน 01 ความหมายและคำจำกัดความ 02 วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ การจัดตั้งกลุ่มและการจดทะเบียน 04 คณะกรรมการกลุ่มฯ และบทบาทหน้าที่ 03

  3. การปฏิบัติงานตามระเบียบกรมการพัฒนาชุมชนการปฏิบัติงานตามระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน 05 กิจกรรมของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 06 เงินทุนของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต การเก็บรักษาเงินกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 08 เครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 07

  4. การปฏิบัติงานตามระเบียบกรมการพัฒนาชุมชนการปฏิบัติงานตามระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน การส่งเสริม สนับสนุน กำกับดูแลการดำเนินงาน 09 10 กรณีไม่สามารถปฏิบัติตามระเบียบฯ ข้อห้ามและข้อปฏิบัติภายในระเบียบฯ นี้ 11

  5. ความหมายและคำจัดกัดความความหมายและคำจัดกัดความ กลุ่มออมทรัพย์ หมายความว่า กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ที่ประชาชนรวมตัวกันจัดตั้งขึ้นเพื่อเก็บออมเงินสะสมร่วมกัน โดยมีการบริหารจัดการกันเอง และดำเนินการตามแนวทางที่กรมการพัฒนาชุมชนกำหนด 01

  6. ความหมายและคำจัดกัดความความหมายและคำจัดกัดความ เจ้าหน้าที่ หมายความว่า ข้าราชการสังกัดกรมการพัฒนาชุมชน สมาชิกหมายความว่า สมาชิกของกลุ่มออมทรัพย์ซึ่งสมัครเข้ามาโดยถูกต้องตามระเบียบและปรากฏชื่อในทะเบียนของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 01

  7. ความหมายและคำจัดกัดความความหมายและคำจัดกัดความ เงินสัจจะสะสม หมายความว่า จำนวนเงินที่สมาชิกสมัครใจฝากออมทรัพย์ไว้กับกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ตามที่ให้สัจจะกับกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตอย่างสม่ำเสมอเป็นประจำทุกเดือน เงินสัจจะพิเศษ หมายความว่า เงินที่สมาชิกนำมาฝากนอกเหนือจากเงินสัจจะสะสม สามารถเบิกถอนได้ และมีดอกผลตามระเบียบของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 01

  8. ความหมายและคำจัดกัดความความหมายและคำจัดกัดความ คณะกรรมการ หมายความว่า คณะกรรมการบริหารกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ที่ได้รับการคัดเลือกโดยมติที่ประชุมสมาชิก เครือข่าย หมายความว่า เครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ซึ่งเป็นองค์กรที่เกิดจากการรวมตัวกันของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 01

  9. ความหมายและคำจัดกัดความความหมายและคำจัดกัดความ สถาบัน หมายความว่า สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ที่เป็นองค์กรในการส่งเสริมให้กองทุนชุมชนมีการบริหารจัดการร่วมกัน คุณธรรมหมายความว่า คุณธรรม ๕ ประการ ได้แก่ ความซื่อสัตย์ ความเสียสละ ความรับผิดชอบ ความเห็นอกเห็นใจและความไว้วางใจ 01

  10. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า Saving for Production Group (SPG.)

  11. เครื่องหมายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ลักษณะ เป็นวงกลมเล็ก (วงใน) ล้อมรอบด้วยวงกลมวงใหญ่(วงนอก) ภายในวงกลมเล็ก ตรงกลางเป็นรูปต้นไทร ด้านซ้ายเป็นรูปครอบครัว (เป็นรูปคนประกอบด้วย พ่อ แม่ ลูก) ด้านขวาเป็นรูปถุงเงิน และรูปสายน้ำอยู่ด้านล่าง ภายในขอบวงกลมวงนอกที่ล้อมวงกลมวงในด้านบนมีข้อความ “กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต” ด้านล่างเป็นรูปรวงข้าว

  12. เครื่องหมายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต สี เส้นรอบวงกลมวงนอกและวงในเป็นสีฟ้า พื้นวงกลมวงในเป็นสีขาว รูปต้นไทร ครอบครัว และถุงเงินเป็นสีเขียว สายน้ำเป็นสีฟ้า พื้นวงกลมวงนอกเป็นสีเหลือง ข้อความ “กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต” เป็นสีน้ำเงินและรวงข้าวเป็นสีเขียว

  13. วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ 02 เพื่อพัฒนาคน เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน เพื่อพัฒนาสังคม โดยการปลูกฝังคุณธรรม วิถีประชาธิปไตย สร้างความสามัคคี การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และความเป็นธรรม โดยการระดมเงินออม ทำให้มีแหล่งเงินทุนในการประกอบอาชีพ ให้มีคุณธรรม โดยใช้เงินเป็นเครื่องมือในการพัฒนา

  14. การจัดตั้งกลุ่มและการจดทะเบียนการจัดตั้งกลุ่มและการจดทะเบียน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ภายใต้ระเบียบนี้ ต้องจดทะเบียนตามแนวทางที่กรมการพัฒนาชุมชนกำหนด การจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ต้องมีจำนวนผู้ก่อตั้งไม่น้อยกว่า ๑๕ คน 03

  15. คณะกรรมการกลุ่มฯ และบทบาทหน้าที่ คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประกอบด้วย 01 คณะกรรมการอำนวยการ 04 คณะกรรมการเงินกู้ 02 คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการส่งเสริม 04 แต่ละคณะมีจำนวนไม่น้อยกว่า ๓ คน ประกอบด้วย ประธาน รองประธาน และเหรัญญิก หรือตำแหน่งอื่นๆ ตามความเหมาะสม การดำรงตำแหน่ง คราวละ ๔ ปี นับแต่วันที่ได้รับการคัดเลือก 03

  16. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ คณะกรรมการอำนวยการ มีหน้าที่ กำหนดระเบียบข้อบังคับ ทำบัญชีรายรับ รายจ่ายและทะเบียนเอกสารต่างๆ และบริหารงานทั่วไปของกลุ่ม เพื่อประโยชน์สูงสุดแก่สมาชิก คณะกรรมการเงินกู้มีหน้าที่ ดำเนินการเกี่ยวกับการพิจารณาเงินกู้ให้กับสมาชิก 04

  17. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่ ตรวจสอบเอกสารหลักฐานและกิจการของกลุ่ม คณะกรรมการส่งเสริม มีหน้าที่ ส่งเสริมและสร้างความเข้าใจในหลักการของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 04

  18. สมาชิกและการสิ้นสุดสมาชิกภาพสมาชิกและการสิ้นสุดสมาชิกภาพ สมาชิก มี ๓ ประเภท ประกอบด้วย ๑.สมาชิกสามัญได้แก่ บุคคลธรรมดาในหมู่บ้านหรือตำบล ที่สมัครเป็นสมาชิกตามระเบียนข้อบังคบของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ๒.สมาชิกวิสามัญได้แก่กลุ่มองค์กร ภายในหมู่บ้าน/ตำบล ที่ทางราชการสนับสนุนและรับรองฐานะที่สมัครเป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ๓.สมาชิกกิตติมศักดิ์ ได้แก่ข้าราชการ คหบดี ภิกษุ สามเณร บุคคลที่มีความสนใจและให้การสนับสนุนกลุ่มโยไม่หวังผลตอบแทน ตามที่คณะกรรมการมีมติเห็นชอบ 04

  19. การสมัครเป็นสมาชิก สามารถสมัครเป็นสมาชิกโดยยื่นคำขอ ณ ที่ทำการกลุ่มออมทรัพย์ที่คณะกรรมการกำหนด เงื่อนไขการสมัครเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 04

  20. การสิ้นสุดการเป็นสมาชิกภาพการสิ้นสุดการเป็นสมาชิกภาพ ตาย 1 2 ลาออก ขาดคุณสมบัติตามที่ระบุไว้ระเบียบของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 3 ที่ประชุมสมาชิกมีมติให้ออกด้วยคะแนนเสียง ๓ ใน ๔ ของสมาชิกทั้งหมด 4

  21. กิจกรรมของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตกิจกรรมของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 1 2 3 4 5 การให้กู้เงินเพื่อเป็นทุนในการประกอบอาชีพและสวัสดิการของครอบครัว การดำเนินงานศูนย์สาธิตการตลาดเพื่อรวมกันซื้อรวมกันขายวัสดุอุปกรณ์ที่เป็นปัจจัยการผลิตและสินค้าอุปโภคบริโภค ให้ได้ราคาถูกและมีคุณภาพ การดำเนินงานยุ้งฉางเพื่อรวมกันขายข้าวหรือผลผลิตทางการเกษตรให้ได้ในราคาสูงและลดการถูกเอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลาง การดำเนินงานธนาคารข้าว เพื่อให้การสงเคราะห์ข้าวแก่ผู้ยากไร้ขาดแคลน การเข้าร่วมกิจกรรม เวทีการประชุม การปรึกษากระบวนการดำเนินงานกับผู้ร่วมงาน 05

  22. เงินทุนการดำเนินการของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเงินทุนการดำเนินการของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต • ค่าสมัครเข้าเป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ฯ และค่าปรับกรณีผิดสัญญาการส่งใช้คืนเงินกู้ • เงินสัจจะสะสมของสมาชิก • เงินที่กู้หรือยืมมาจากแหล่งเงินทุนต่างๆ เช่น ธนาคาร กองทุนชุมชน • เงินช่วยเหลือจากสถาบันหรือองค์กรอื่นทั้งภายในและภายนอกประเทศ • เงินรายได้อื่นๆ เช่นเงินบริจาคต่างๆ 06

  23. การเก็บรักษาเงินของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตการเก็บรักษาเงินของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ให้เงินของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตนำฝากธนาคาร ได้แก่ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) ธนาคารออมสิน หรือธนาคารอื่น สำหรับการเปิดบัญชีเงินฝากตามข้อ ๑๗ ให้ประธาน รองประธาน และเหรัญญิกของกลุ่มฯ เป็นผู้ลงลายมือชื่อ และเมื่อจะถอนฝากต้องลงลายมือชื่อร่วมกันอย่างน้อย ๒ คน โดยให้ประธานลงลายมือชื่อร่วมทุกครั้ง 07

  24. เครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต วัตถุประสงค์ ๑ วัตถุประสงค์ ๒ วัตถุประสงค์ ๓ เพื่อส่งเสริมองค์กรเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตในแต่ละระดับ (ตำบล อำเภอ จังหวัดและประเทศ) ผนึกกำลังประสานเชื่อมโยงการเรียนรู้ การจัดการกิจกรรมของกลุ่มออมทรัพย์ฯแตะละระดับให้มีความเข้มแข็ง เพื่อประสานงานและประสานความร่วมมือระหว่างเครือข่ายและสมาชิก เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูล ปัญหาอุปสรรค ซึ่งกันและกันในการดำเนินงาน 08

  25. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต มีเครือข่าย ๔ ระดับ เครือข่ายระดับตำบล 1 2 เครือข่ายระดับอำเภอ เครือข่ายระดับจังหวัด 3 เครือข่ายระดับประเทศ 4

  26. การแต่งตั้งเครือข่ายฯการแต่งตั้งเครือข่ายฯ นายอำเภอ ระดับตำบลและอำเภอ ผู้ว่าราชการจังหวัด ระดับจังหวัด อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ระดับประเทศ

  27. คณะกรรมการเครือข่ายฯ ประกอบด้วย ๑.ผู้แทนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ที่อยู่ในหมู่บ้าน/ชุมชน อย่างน้อยกลุ่มละ ๑ คน เป็น กรรมการเครือข่ายฯ ระดับตำบล ๒.ผู้แทนเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระดับตำบล อย่างน้อยเครือข่ายละ ๑ คน เป็นกรรมการเครือข่ายฯ ระดับอำเภอ ๓.ผู้แทนเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระดับอำเภอ อย่างน้อยเครือข่ายละ ๑ คน เป็นกรรมการเครือข่ายฯ ระดับจังหวัด ๔.ผู้แทนเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระดับจังหวัด เครือข่าย ๑ คน เป็นกรรมการเครือข่ายฯ ระดับประเทศ วาระกาดำรงตำแหน่งคราวละ ๔ ปี

  28. มีหน้าที่ ดังนี้ 01 ส่งเสริม สนับสนุน ประสานงาน การดำเนินงานเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการกลุ่ม บุคลากร แหล่งทุน ด้านอื่นๆ ตามที่เครือข่ายฯ เห็นสมควร อันก่อให้เกิดประโยชน์แก่การดำเนินงานของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตในหมู่บ้าน/ชุมชน 02 กำหนดนโยบายและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายฯ จัดทำแผนการดำเนินงาน จัดทำระเบียบข้อบังคับของเครือข่ายฯ ข้อบังคับงบประมาณรายจ่ายของเครือข่ายฯ และจัดประชุมประจำเดือน ประชุมสามัญ/วิสามัญ

  29. มีหน้าที่ ดังนี้ 03 กำกับ ควบคุม ดูแล ตรวจสอบ การดำเนินงานกิจกรรมของเครือข่ายฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และมติที่ประชุม ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับภาระผูกพันของเครือข่าย 04 05 จัดทำทะเบียน ระบบบัญชี เอกสารหลักฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ดูแลทรัพย์สินของเครือข่ายฯ ประสานความร่วมมือหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน อื่นๆที่เกี่ยวข้อง

  30. มีหน้าที่ ดังนี้ 06 ติดตามตรวจสอบ ให้คำแนะนำการแก้ไขข้อร้องเรียน ข้อขัดแย้งของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 07 08 ประสานและเชื่อมโยงความร่วมมือการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตของแต่ละพื้นที่ อื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ให้เครือข่ายฯ ส่งเสริมให้กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่เข้มแข็งและมีความพร้อมเป็นแกนนำในการจัดตั้งสถาบันการจัดการทุนชุมชน เพื่อสนับสนุนให้กองทุนชุมชนมีการบริหารจัดการร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ โดยดำเนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการและแนวทางที่กรมฯ กำหนด

  31. การส่งเสริม/สนับสนุน/กำกับดูแลการดำเนินงานการส่งเสริม/สนับสนุน/กำกับดูแลการดำเนินงาน ๑.กรมการพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงานรับผิดชอบการส่งเสริม สนับสนุน และกำกับดูแลการดำเนินงานของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และวิธีการที่กำหนดและทำหน้าที่เป็นนายทะเบียน ๒. สำนักผู้ตรวจราชการกรม และศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงานสนับสนุนทางวิชาการ แก่จังหวัด/อำเภอ ในการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ๓. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด/อำเภอ เป็นหน่วยงานสนับสนุนและกำกับดูแลการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 09

  32. กรณีไม่สามารถปฏิบัติตามระเบียบ หรือกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตกระทำผิดกฎหมาย ๑.ในกรณีที่มีความจำเป็นไม่อาจปฏิบัติตามระเบียบฯ นี้ได้ หรือมีอุปสรรคในการดำเนินงานตามระเบียบฯ นี้ ให้อธิบดีพิจารณาสั่งการได้ตามที่เห็นสมควรเพื่อให้การดำเนินงานของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเป็นไปด้วยความคล่องตัว มีประสิทธิภาพ และทันต่อเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ๒. หากการดำเนินงานของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย หรือขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือของบ้านเมือง ให้อธิบดีมีอำนาจในการเพิกถอนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตนั้นออกจากทะเบียนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตของกรมการพัฒนาชุมชน 10

  33. ข้อห้ามและปฏิบัติภายใต้ระเบียบฯ นี้ ๑.จำนวนเงินฝากสัจจะสะสม (รายเดือน) ควรให้สมาชิกเป็นผู้ตัดสินใจที่จะออมตามศักยภาพของตนเอง โดยจำกัดจำนวนเงินออมสูงสุดได้ตามความเหมาะสม ให้มุ่งเน้นความสม่ำเสมอในการส่ง และสามารถปรับเปลี่ยนเพิ่มหรือลดได้ เมื่อสิ้นปีปิดบัญชีงบดุลของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ๒. การส่งเงินสัจจะสะสม สมาชิกหรือผู้แทนครัวเรือนที่เป็นสมาชิก ต้องนำส่งด้วยตนเอง ณ ที่ทำการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ตามวัน เวลา และสถานที่ ที่กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตกำหนด และให้คณะกรรมการฯ รวบรวมเงินสัจจะสะสมฝากเข้าบัญชีธนาคารของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ภายใน ๓ วันทำการ 11

  34. ข้อห้ามและปฏิบัติภายใต้ระเบียบฯ นี้ ๓.ห้ามมิให้ส่งเงินสัจจะสะสมล่วงหน้าก่อนระยะเวลาที่สมาชิกได้ให้สัจจะไว้กับกลุ่ม ยกเว้นกรณีจำเป็น ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยภาพพินิจของคณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ๔.การรับเงินสัจจะสะสม หรือรับชำระคืนเงินกู้ยืมจากสมาชิก ให้คณะกรรมการฯ รวบรวมเงินดังกล่าว นำฝากเข้าบัญชีธนาคารของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตภายใน ๓ วันทำการ เมื่อมีสมาชิกยื่นขอกู้เงิน ให้เบิกถอนเงินจากธนาคารตามระเบียบเบิกจ่าย จะนำเงินดังกล่าวข้างต้นปล่อยให้สมาชิกกู้โดยไม่ผ่านระบบบัญชีธนาคารไม่ได้ 11

  35. ข้อห้ามและปฏิบัติภายใต้ระเบียบฯ นี้ ๕.การดำเนินธุรกรรมทางการเงินของกลุ่มออมทรัพย์การผลิตทุกประเภท ให้ดำเนินการผ่านระบบบัญชีธนาคารทุกครั้ง ๖.ห้ามมิให้กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต คิดดอกเบี้ยเงินกู้จากสมาชิกเกินอัตราที่กฎหมายกำหนด ๗.ห้ามมิให้กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ดำเนินกิจกรรมในลักษณะเข้าข่ายต้องห้าม ตามพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ.๒๕๕๑ 11

  36. การส่งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน “ส่งเสริม สนับสนุน” การดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนากร ทำหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์ฯ ๑.ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ๗.รายงานผลฯ ๒.ด้านวิชาการ ๘.ปฏิบัติงานอื่นๆตาม พอ. ๓.ประสานความร่วมมือ มอบหมาย ๔.ให้คำปรึกษา แนะนำ ๕.ติดตาม ตรวจสอบ ๖.จัดทำทะเบียน

  37. การส่งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน พัฒนาการอำเภอ ทำหน้าที่ ส่งเสริม สนับสนุนให้การดำเนินงานของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเป็นไปตามแนวคิด หลักการที่กรมการพัฒนาชุมชนกำหนด รวมทั้งให้คำปรึกษา แนะนำ และติดตาม กำกับดูแล การปฏิบัติงานของพัฒนากรประจำตำบล ให้เป็นไปตามระเบียบฯ พัฒนาการจังหวัด ทำหน้าที่ ส่งเสริม สนับสนุน ติดตามกำกับดูแลการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตภายในจังหวัด และมอบหมายให้มีเจ้าหน้าที่ติดตาม ตรวจสอบและแนะนำ การบริหารจัดการกลุ่มให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามแนวทางที่กรมฯกำหนด แล้วรายงานให้ ผู้ว่าฯ ทราบ ปี ละ ๒ ครั้ง

  38. การส่งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน แนวทางการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน ระดับจังหวัด ๑.ให้ พัฒนาการจังหวัด กำชับหน.กง. พัฒนาการอำเภอ นักวิชาการพัฒนาชุมชน และพัฒนากรทุกคน ศึกษาและทำความเข้าใจสาระสำคัญในระเบียบกรมฯ และแนวทางปฏิบัติให้ชัดเจน ๒.ให้จังหวัดให้ความสำคัญงบประมาณ และใช้กิจกรรมส่งเสริมสนับสนุน สร้างความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่ทุกคน ๓.จัดตั้งคณะทำงานฯ ชช.ออมทรัพย์ฯ ศึกษาระเบียบฯ ถ่ายทอดสร้างความเข้าใจ ติดตามประเมินผล

  39. การส่งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน แนวทางการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน ระดับจังหวัด ๕.จัดประชุมทำความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่ พช.ในการส่งเสริมการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์ฯ ๖.กำชับเจ้าหน้าที่ พช.มีการมอบหมายงานโดยเคร่งครัด ในกรณีมีการโยกย้าย ๗.ให้เน้นย้ำข้อปฏิบัติและข้อห้าให้จนท.พช.นำระเบียบดังกล่าวไปปฏิบัติ ๘.จังหวัดกำกับดูแลให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามระเบียบฯ โดยเคร่งครัด

  40. การส่งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน แนวทางการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน ระดับอำเภอ/ตำบล ๑.กำหนดให้มีการประชุมประจำเดือนของเจ้าหน้าที่ฯ ๒.ให้สำนักงานพัฒนาชุมชน กำชับจนท.ให้ความสำคัญระเบียบฯ ๓.ให้พัฒนากร จัดประชุมคณะกรรมการและสมาชิกเพื่อสร้างความเข้าใจและทบทวนการดำเนินงานเป็นรายกลุ่มฯ ให้แล้วเสร็จก่อนรายงานผลการตรวจสุขภาพฯ ในรอบที่ ๑ เดือนเม.ย.๕๖ ๔.ให้พัฒนากร ติดตาม ตรวจสอบ การดำเนินงานของกลุ่มฯ ให้ครบทุกกลุ่ม

  41. การส่งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน ดำเนินการ ดังนี้ ๑.หากมีการดำเนินงานถูกต้องให้กลุ่มจดทะเบียนที่ สพอ.และขึ้นทะเบียนกลุ่มที่ดำเนินการตามแนวทางที่กรมฯ กำหนด จัดกลุ่มประเภทที่ ๑ ที่พร้อมจะได้รับการส่งเสริม และสนับสนุน ๒.กรณีกลุ่มออมทรัพย์ฯ ที่ยังไม่สามารถดำเนินการตามแนวทางที่กรมฯกำหนด ให้จัดทำทะเบียนหรือขึ้นทะเบียนแยกประเภทเป็นกลุ่มประเภทที่ ๒ ที่ยอมรับและจะทำการพัฒนาตามแนวทางฯ ๓.หากกลุ่มใดไม่สมัคใจที่จะดำเนินการตามแนวทางที่กรมฯ กำหนดให้สพอ.พิจารณาทบทวนหรือยกเลิกไม่ขึ้นทะเบียน

  42. การส่งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน ดำเนินการ ดังนี้ ๔.กรณีที่กลุ่มได้รับการขึ้นทะเบียนแล้ว แต่ปฏิบัติไม่ถูกต้อง ให้ สำนักงานพัฒนาชุมชนพิจารณายกเลิกหรือเพิกถอนนั้นออกจากทะเบียนกลุ่มฯ โดยรายงานให้ อพช.ผู้มีอำนาจในการดำเนินการ ๕.พัฒนากรผู้รับผิดชอบ ต้องติดตาม ตรวจสอบอย่างใกล้ชิด ต่อเนื่องและจริงจัง

  43. การส่งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน ดำเนินการ ดังนี้ ๖.พัฒนาการอำเภอ ต้องให้ความสำคัญ กำกับ ดูแล ให้พัฒนากรผู้รับผิดชอบถือปฏิบัติในการดำเนินการส่งเสริมกลุ่มฯ ตลอดจนการจัดทะเบียนกลุ่มฯ ให้ถูกต้องครบถ้วน ไม่ก่อให้เกิดความเสียต่อการปฏิบัติงานภายหลัง ๗.พัฒนาการอำเภอต้องกำกับให้พัฒนากรรายงานผลการจัดทำทะเบียน รวมทั้งเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้อง และจัดส่งให้กรมฯตามกำหนด

  44. การส่งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน การติดตามการดำเนินงาน ๑.ให้จังหวัดมอบหมายเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกระดับออกไปติดตามสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ๒.ให้จังหวัดกำหนดให้มีคณะทำงานฯ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผล ๓. ให้เจ้าหน้าที่พช.ทุกระดับ จัดทำแผนติดตามสนับสนุน ตรวจสอบผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ๔.ให้จังหวัดมอบหมาย ชช.ออมทรัพย์ฯ ให้คำปรึกษาแนะนำ ๕.การติดตามนิเทศงานกลุ่มฯ ของ พจ.หน.กง.นว.พช.พอ.ให้ติดตามและตรวจสอบผลให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล

  45. การส่งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน การรายงาน ๑.การรายงานผลการดำเนินงานส่งเสริมกลุ่มฯและการดำเนินงานขึ้นทะเบียนกลุ่มฯ - ให้คณะกรรมการกลุ่มฯ รายงานและรับรองผลการตรวจสอบการดำเนินงานให้สนง.พช.ทราบเพื่อจัดทำทะเบียน ภายในเดือน เม.ย.ของทุกปี - สพอ.โดยคณะทำงานที่แต่งตั้งฯ รับผิดชอบตรวจสอบรับรองผล และรายงานอำเภอทราบ ภายในเดือนเม.ย.ของทุกปี -หากกลุ่มฯที่ทำการพัฒนาและผ่านตามแนวทางที่กรมฯ กำหนดให้รายงานกรมฯ ทราบ พร้อมขึ้นทะเบียนประเภทที่ ๑ แล้ว ให้รายงานทุกวันที่ ๓๐ ก.ย.ของทุกปี

  46. การส่งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน การรายงาน ๒.การรายงานผลความก้าวหน้าให้อำเภอรายงานผลความก้าวหน้าให้จังหวัด ปีละ ๑ ครั้ง ก่อนสิ้นปีงบประมาณ ๓.จังหวัดตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้งก่อนรายงานให้กรมฯ ภายในวันที่ ๓๐ ก.ย.ของทุกปี

  47. จบการนำเสนอ

More Related