1 / 73

ชุมชนนักปฏิบัติ

ชุมชนนักปฏิบัติ. โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประศักดิ์ หอมสนิท รองศาสตราจารย์ ดร.อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง อาจารย์พรพิมล หรรษาภิรมย์โชค สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

Download Presentation

ชุมชนนักปฏิบัติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ชุมชนนักปฏิบัติ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประศักดิ์ หอมสนิท รองศาสตราจารย์ ดร.อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่งอาจารย์พรพิมล หรรษาภิรมย์โชค สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  2. ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Knowledge Sharing Knowledge Vision Knowledge Assets ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs • KM Model “ปลาทู” • Knowledge Vision (KV) • Knowledge Sharing (KS) • Knowledge Assets (KA) KV KS KA ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM อะไรทำไปเพื่ออะไร”

  3. วัฒนธรรมการจัด KM อำเภอ KM อำเภอสัญจร KMอำเภอสัญจรโดยจะจัดตามอำเภอต่างๆ ฝ่ายยุทธศาสตร์ฯในฐานะตัวกลางในการประสานให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันภายในกลุ่มนักส่งเสริมฯ KMอำเภอสัญจรโดยการประชุมchange agent ทุกวันพุธที่ 3 ของ เดือน เพื่อถ่ายทอดแนวคิดสร้างความเข้าใจร่วมกันในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร

  4. การกำหนด “หัวปลา” เฉพาะของกลุ่มตนเอง

  5. โครงการการจัดการความรู้โครงการการจัดการความรู้ • โครงการมุมกาแฟ • โครงการคิดสร้างสรรค์นวัตกรรม • โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • โครงการเวทีประชาคม • ฯลฯ

  6. ลักษณะของชุมชนนักปฏิบัติ(Community of Practice: CoP)

  7. ชุมชนนักปฏิบัติคือกลุ่มคนที่รวมตัวกัน … มีความต้องการร่วมกันในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ ร่วมกัน มีปฏิสัมพันธ์และสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างกัน

  8. หน่วยงานของสมาชิก CoP กระบวนการเรียนรู้ของชุมชนนักปฏิบัติ ประยุกต์ใช้ความรู้ การเรียนรู้ นำความรู้ใหม่มาป้อนกลับ

  9. Tools KM CoP ชุมชนนักปฏิบัติกับ KM เครื่องมือ กระบวนการ โครงสร้าง

  10. CoP3 CoP2 CoP5 CoP4 CoP1 CoP6 CoP7 ชุมชนนักปฏิบัติกับ LO LO บ่งชี้ ยกระดับ สร้าง CoP ใช้ แลกเปลี่ยน

  11. ประโยชน์ของชุมชนนักปฏิบัติประโยชน์ของชุมชนนักปฏิบัติ สำหรับองค์กร • ช่วยขับเคลื่อนให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย • องค์กรแก้ไขปัญหาต่างๆได้รวดเร็วกว่าเดิม • เกิดวัฒนธรรมการสร้างความรู้และนวัตกรรม • เผยแพร่วิธีปฏิบัติงานอย่างทั่วถึง

  12. ประโยชน์ของชุมชนนักปฏิบัติประโยชน์ของชุมชนนักปฏิบัติ สำหรับบุคลากร • พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา • แลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์ของตนเองกับกลุ่ม • เรียนรู้ร่วมกันกับเพื่อนร่วมงาน/หัวหน้างาน • เกิดการพัฒนาผลการปฏิบัติงาน

  13. ประโยชน์ของชุมชนนักปฏิบัติประโยชน์ของชุมชนนักปฏิบัติ สำหรับชุมชน • เกิดการรวมกลุ่มของผู้มีอุดมการณ์เดียวกัน • มีการนำทุนทางสังคมมาใช้ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด (พลัง ศักยภาพและภูมิปัญญา) • ชุมชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันเองตลอดเวลา • ชุมชนพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลา

  14. รูปแบบของชุมชนนักปฏิบัติรูปแบบของชุมชนนักปฏิบัติ • รวมกันในกลุ่มงาน หรือ ข้ามสายงาน • เฉพาะในหน่วยงาน หรือ นอกหน่วยงาน • กลุ่มขนาดเล็ก หรือ ขนาดใหญ่ • เกิดขึ้นโดยสมัครใจ หรือ ถูกกำหนดให้ทำ • ทำอย่างเป็นทางการ หรือ ไม่เป็นทางการ • ส่งผลต่อองค์กร หรือ เกิดประโยชน์กับกลุ่ม

  15. ระดับองค์กร ระดับกลุ่ม ภายนอก ภายนอก ระดับบุคคล

  16. แบบปิดรวมภายใน แบ่งเปิดไม่จำกัด แบบกลุ่มเครือข่าย โครงสร้างของกลุ่ม

  17. CoP Model Clinical employees 5,000 KM member 670 Active KM member 50

  18. CoP Model Clinical employees 5,000 KM member 1,735 Active KM member 100 New CoP New CoP New CoP Potential new CoP

  19. KM Siriraj c

  20. เทคนิคของการสร้างชุมชนนักปฏิบัติเทคนิคของการสร้างชุมชนนักปฏิบัติ • ผู้บริหารต้องสนับสนุนอย่างจริงจัง • ประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนรู้จักอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา • มีแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง • ชักชวนคนรู้ใจ/เพื่อนสนิทตั้งกลุ่มตามความสนใจ • มีกลยุทธ์หาสมาชิกเพิ่มเติม (up line/down line)

  21. เทคนิคของการสร้างชุมชนนักปฏิบัติเทคนิคของการสร้างชุมชนนักปฏิบัติ • สร้างปัจจัยแห่งความสำเร็จให้กับกลุ่มต่างๆ • ให้รางวัลผู้นำกลุ่ม/ผู้หาสมาชิก/ผู้เข้าร่วมกลุ่ม • ยกย่องกลุ่มที่สร้างความรู้/นวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง • ดูแล/ให้กำลังใจสม่ำเสมอ

  22. องค์ความรู้ เป็นความรู้ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ขององค์กร • แหล่งความรู้มาจากผู้ปฏิบัติงานภายในองค์กร • ต้องมีการมอบหมายให้บุคลากรกลุ่มหนึ่งมีหน้าที่ พิเศษ เป็นผู้เอื้ออำนวยการเรียนรู้

  23. ชุมชนนักปฏิบัติกับบุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆชุมชนนักปฏิบัติกับบุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆ

  24. การดำเนินกิจกรรมการจัดการความรู้ของ:*ผู้บริหาร ในฐานะ “คุณเอื้อ”*คุณอำนวย (วิทยากรกระบวนการ)* คุณกิจ*คุณลิขิต* คุณประสาน

  25. ชุมชนนักปฏิบัติกับ คุณอำนวย (วิทยากรกระบวนการ)

  26. ความแตกต่างระหว่าง “วิทยากร” กับ “วิทยากรกระบวนการ” • “ วิทยากร ” คือ ผู้ให้ความรู้หรือผู้ถ่ายทอดความรู้ ซึ่งความรู้นั้นมักถูกกำหนดและออกแบบโดยวิทยากรเอง ส่วนใหญ่วิทยากรจะใช้วิธีการบรรยาย หรืออภิปราย จึงเป็นการสื่อสารทางเดียวเป็นหลัก • “ วิทยากรกระบวนการ ” มักใช้กระบวนการกลุ่มในการนำเสนอและแลกเปลี่ยนความรู้ ดังนั้นความรู้จึงมาจากทั้งผู้ที่เป็นวิทยากรและสมาชิกของกลุ่ม วิธีการที่ใช้กันมาก คือ การพูดคุยเป็นกลุ่ม (Dialogue) โดยวิทยากรทำหน้าที่ อำนวยความสะดวกให้สมาชิกกลุ่ม เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มากที่สุด

  27. พฤติกรรมที่แตกต่างของวิทยากรกระบวนการกับวิทยากรทั่วไป

  28. คุณอำนวย (วิทยากรกระบวนการ) • ผู้ที่ทำหน้าที่ช่วยให้สมาชิกกลุ่มได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น สะท้อนประสบการณ์จนเข้าใจปัญหาอย่างถ่องแท้ ร่วมกันวางแผน และดำเนินงานตามแผนบนพื้นฐานประโยชน์ร่วมกัน ด้วยการใช้เทคนิคต่าง ๆ ให้กลุ่มเกิดการเรียนรู้ การคิดที่เป็นระบบ มีอิสระทางความคิดและสามารถสื่อสารอย่างตรงไปตรงมา

  29. ผู้จัดการ ผู้ประสานงาน ผู้เอื้ออำนวยกระบวนการ ผู้สังเกต ผู้กระตุ้น ผู้สร้างบรรยากาศ ผู้เอื้ออำนวยให้เกิดการสื่อสารแนวราบ ผู้ร่วมเรียนรู้ไปกับสมาชิกกลุ่ม โค้ชการเรียนรู้ คุณอำนวยเปรียบเสมือน :

  30. คุณอำนวย หรือ Knowledge Facilitator/Broker *เป็นบุคคลสำคัญในการอำนวยความสะดวกในการ จัดการความรู้*ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และช่วยให้เกิด การแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างเป็นระบบ*เป็น“ช่างเชื่อม” เชื่อมโยงระหว่างผู้คนที่มีอุดมการณ์ เดียวกัน และมีเป้าหมายร่วมกัน

  31. คุณอำนวย: มีหน้าที่ ดังนี้ • ร่วมกับ“คุณเอื้อ”ในการกำหนดกิจกรรมKMให้“คุณกิจ”ร่วมกันเป็นเจ้าของ • 2. จัดประชุมเพื่อให้คุณกิจนำความสำเร็จมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ บันทึกเป็นคลังความรู้ สังเคราะห์เป็นแก่นความรู้ • จัดกิจกรรมให้ “คุณกิจ”เรียนรู้วิธีที่เป็นเลิศ (best practice)และจัดกิจกรรม “เพื่อนช่วยเพื่อน”เรียนรู้ • 4. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่าน ITC

  32. 5.ส่งเสริมให้เกิดชุมชนนักปฏิบัติ5.ส่งเสริมให้เกิดชุมชนนักปฏิบัติ 6.จัดมหกรรมความรู้ขององค์กร/ชุมชน 7. จัดการเชื่อมโยงการดำเนินงาน KM ขององค์กร/ชุมชนกับ กิจกรรม KMภายนอกองค์กร/ชุมชน 8. ดำเนินการเพื่อให้กิจกรรม KM มีความต่อเนื่อง

  33. คุณอำนวย • คุณอำนวยต้องทำให้เกิด “คุณเอื้อ” • คุณอำนวยต้องชักจูง “คุณกิจ”มาร่วมกิจกรรม และ ต้องใช้พลังทำให้ “คุณกิจ”ดำเนินการจัดการความรู้ • คุณอำนวยต้องเป็นผู้ที่มีความคล่องตัวสามารถยืดหยุ่น การทำงานประจำของตนเอง • ในหน่วยงานขนาดใหญ่ต้องมี คุณอำนวยเต็มเวลา 1คน

  34. บทบาทของคุณอำนวยในกลุ่มบทบาทของคุณอำนวยในกลุ่ม • ใช้เทคนิคการกระตุ้นเร่งเร้ากลุ่มให้คิด แสดงความคิดเห็น • สนับสนุนกลุ่มโดยดูแลให้สมาชิกทุกคนได้รับเวลาที่พอเพียง • พิจารณาถึงพฤติกรรมและ ความสัมพันธ์ภายในกลุ่ม • จัดการกับความไม่แน่นอนที่อาจจะเกิดขึ้นอย่างไม่คาดฝัน • มีอารมณ์ร่วมไปกับคนในกลุ่ม และพร้อมรับฟังความคิดเห็นรวมทั้งความรู้สึกของผู้อื่น • ทำให้ประเด็นยาก ๆ กลายเป็นประเด็นที่เข้าใจง่ายขึ้น • ต้องทำให้ตนเองไม่เครียด และมีอารมณ์ขัน.

  35. คุณสมบัติของคุณอำนวยที่ดีคุณสมบัติของคุณอำนวยที่ดี • มีทักษะการสื่อสารที่ดี • มีทักษะการฟังที่ดี ฟังอย่างเป็นกลาง ไม่พูดแทรก ไม่ครอบงำความคิด ให้ความสำคัญกับการรับรู้ การแสดงความรู้สึก และความหมายที่ซ่อนเร้น เช่นเดียวกับถ้อยคำที่สมาชิกพูดออกมา • มีความสามารถในการตั้งคำถามเชิงสร้างสรรค์ ที่ทำให้เกิดกระบวนการคิดและท้าทายให้คิดหาคำตอบ • รู้จักใช้คำพูดที่กระชับ ตรงประเด็น ชัดเจน • กระตุ้นให้คิดไปตามลำดับอย่างเชื่อมโยง เป็นระบบ หรือเป็นประเด็นท้าทายสำหรับกลุ่มในการฝ่าฟันให้ความสำเร็จร่วมกันและสร้างการยอมรับคำตอบที่ไม่คาดฝัน

  36. คุณสมบัติของคุณอำนวยที่ดีคุณสมบัติของคุณอำนวยที่ดี • มีความยืดหยุ่นทางความคิด คิดในแง่ดี รับฟังความคิดเห็น • มีความคิดสร้างสรรค์ คิดแบบองค์รวม • มีความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะทำให้เกิดการเรียนรู้ในกลุ่ม และเต็มใจให้ความช่วยเหลือ • มีความสามารถในการใช้กิจกรรมสอดแทรกในจังหวะเวลาที่เหมาะสม • มีความสามารถในการสร้างบรรยากาศให้มีการแลกเปลี่ยนระหว่างสมาชิกกลุ่มให้เป็นทั้งผู้ให้และผู้รับ • มีความสามารถในการสรุป และเชื่อมโยงให้เห็นภาพรวมมากกว่าการมองประเด็นเล็ก หรือแยกส่วน

  37. คุณอำนวย: ทักษะที่จำเป็น 1.การจุดประกายความคิด การสร้างความกระตือรือร้น 2.การจัดการประชุม 3. การเป็นวิทยากรกระบวนการในการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือแบ่งปันความรู้ 4.การจับประเด็นและบันทึกความรู้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (การทำหน้าที่คุณลิขิต) 5. รู้จักและมีความสามารถในการเข้าถึงแหล่งความรู้ภายนอก

  38. คุณอำนวย: ทักษะที่จำเป็น 6.การเขียน 7. ความรู้และทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 8. การสร้างบรรยากาศ มุ่งมั่น ชื่นชม แบ่งปัน 9. ทักษะในการเรียนรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหลากหลาย รูปแบบ 10.การทำงานเป็นทีมร่วมกับ “คุณอำนวย” คนอื่นๆ และ ร่วมกับ “คุณเอื้อ” 11. ส่งเสริม สนับสนุน ให้ “คุณกิจ”ใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

  39. ทักษะการเป็นคุณอำนวย • ทักษะการจัดแจงฉาก • ทักษะการสร้างบรรยากาศกลุ่ม • ทักษะการสื่อสาร • ทักษะการฟัง • ทักษะการตั้งประเด็นคำถาม • ทักษะการเสริมกำลังใจ • ทักษะการกระตุ้นให้ผู้ร่วมเวทีตื่นตัว • ทักษะการสังเกต • ทักษะการควบคุมประเด็นและคลี่คลายข้อขัดแย้ง • ทักษะการสรุปบทเรียน

  40. ปัญหาของคุณอำนวยมือใหม่ปัญหาของคุณอำนวยมือใหม่ • ขาดทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล • ขาดทักษะการถอดความรู้ ออกมาจากประสบการณ์ • ขาดทักษะในการเชื่อมโยง • ขาดความสามารถในการสร้างปฏิสัมพันธ์ในกลุ่ม • ไม่เป็นที่ยอมรับ

  41. คุณอำนวยต้องหลีกเลี่ยงคุณอำนวยต้องหลีกเลี่ยง • ความไม่เป็นกลาง • การตีกรอบความคิดกลุ่ม • การกำหนดทางเลือกให้กลุ่ม 3

  42. คุณเอื้อ หรือ Chief Knowledge Officer (CKO) 1.ร่วมกับคุณอำนวย จัดให้มีการกำหนดว่าต้องการทำKM เรื่องอะไร และเพื่ออะไร 2.เชื่อมโยงการทำKM เข้ากับวิสัยทัศน์ พันธกิจเป้าหมาย และยุทธศาสตร์ขององค์กร/ชุมชน 3. จัดบรรยากาศและการบริหารงานแบบเอื้ออำนวย 4.จัดสรรทรัพยากรสำหรับกิกรรมKM 5. ดำเนินการให้กิจกรรมKMเนียนอยู่ในเนื้องานประจำ

  43. คุณเอื้อ หรือChief Knowledge Officer (CKO) 6.เชื่อมโยงKMเข้ากิจกรรมอื่นๆทั้งภายในและภายนอกองค์กร/ชุมชน 7. ติดตาม ให้คำแนะนำ ใส่ใจ ยกย่อง ให้รางวัล 8. ร่วมแบ่งปันทักษะในการเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

  44. คุณกิจ หรือ Knowledge Practitioner * เป็นบุคคลที่ร่วมมือ หรือลงมือปฏิบัติ ตามการชักชวน ของ “คุณอำนวย”*คุณกิจทำกิจกรรม KMประมาณร้อยละ 90-95* คุณกิจเป็นนักแสดงตัวจริง* คนที่มีคุณภาพอาจริเริ่มเป็น “คุณกิจ” รวมตัวกัน เป็นกลุ่มเล็กๆ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ความรู้ที่ได้จากการ ทำงานของตน โดยไม่มีโครงสร้าง KM

  45. คุณกิจ หรือ Knowledge Practitioner * เป็นบุคลากรในหน่วยงาน/ชุมชนเดียวกันหรือต่างหน่วยงาน/ ต่างชุมชนรวมตัวกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์จากการ ปฏิบัติงาน *คุณกิจรวมกันเป็นชุมชนนักปฏิบัติ Community of Practice: CoP

  46. คุณกิจ: ทักษะที่จำเป็น 1.ทักษะการฟัง 2.ทักษะการพูด 3. ทักษะการคิดเชิงบวก 4.ทักษะการนำความรู้ หรือวิธีการทำงานใหม่ๆไปทดลองใช้ 5. ทักษะการสังเกต การเก็บข้อมูล การบันทึกการทำงาน ผลการทดลอง 6. ทักษะการประเมินผล 7. ทักษะการจดบันทึก

  47. คุณลิขิต หรือ Note Taker • ผู้ทำหน้าที่จดบันทึก ในกิจกรรม KM • สิ่งที่“คุณลิขิต”จดบันทึก ได้แก่ • 1. เรื่องเล่า (Storytelling) • 2. ความรู้จากกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • 3.แก่นความรู้ • 4.บันทึกการประชุม และอื่นๆ

  48. คุณลิขิต: ทักษะที่จำเป็น 1.การจับใจความและบันทึกเรื่องเล่า 2.การสกัดประเด็นปัญหา “ฟัง คิด เขียน” 3. ความรู้ความเข้าใจในสาระของเรื่องที่จดบันทึก 4.ทักษะด้านภาษา 5. ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ 6. การติดตามการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

  49. คุณประสาน หรือ Network Manager • ผู้ทำหน้าที่ประสานงานเครือข่าย KMระหว่างองค์กร/ชุมชน หรือระหว่างองค์กร/ชุมชน

  50. คุณประสานมีหน้าที่ ดังนี้ 1. จัดให้มีการตกลงเป้าหมายร่วมกันระหว่างองค์กรภาคีเครือข่าย 2. จัดทำข้อตกลงยุทธศาสตร์การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในภาคี 3.กำหนดกติกาหรือข้อตกลงที่องค์กรสมาชิกเครือข่ายและ บุคคลในองค์กรต้องยึดถือปฏิบัติ 4.จัดทำกำหนดการกิจกรรมของเครือข่าย 5. จัดหานัก IT ทำหน้าที่ดูแลเครือข่าย

More Related