1 / 12

การเสนอขอพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์

การเสนอขอพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์. หลักเกณฑ์การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์. กฎหมายและระเบียบที่ เกี่ยวข้อง ตระกูลและชั้นตราของ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ คุณสมบัติของผู้ที่ จะเสนอขอพระราชทานเครื่องราช ฯ การเสนอ ขอ เหรียญจักรพรรดิมาลา. กฎหมายและระเบียบที่ เกี่ยวข้อง.

pratliff
Download Presentation

การเสนอขอพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเสนอขอพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์

  2. หลักเกณฑ์การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์หลักเกณฑ์การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ • กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง • ตระกูลและชั้นตราของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ • คุณสมบัติของผู้ที่จะเสนอขอพระราชทานเครื่องราชฯ • การเสนอขอเหรียญจักรพรรดิมาลา

  3. กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ. 2536 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2552 • การเสนอขอพระราชทานเหรียญจักรพรรดิมาลา ตามพระราชบัญญัติเหรียญจักรมาลาและจักรพรรดิมาลา พ.ศ. 2484

  4. ตระกูลและชั้นตราของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลและชั้นตราของเครื่องราชอิสริยาภรณ์

  5. ตระกูลและชั้นตราของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลและชั้นตราของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ชั้นสายสะพาย • ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) (สาย 1) • ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) (สาย 2) • มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) (สาย 3) • มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) (สาย 4)

  6. คุณสมบัติของผู้ที่จะเสนอขอพระราชทานเครื่องราชฯข้าราชการคุณสมบัติของผู้ที่จะเสนอขอพระราชทานเครื่องราชฯข้าราชการ ต้องมีระยะเวลารับราชการติดต่อกันมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี บริบูรณ์ นับตั้งแต่เริ่มรับราชการจนถึงวันก่อนวันพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาของปีที่จะขอพระราชทานไม่น้อยกว่า 60 วัน (27 พฤษภาคม ของทุกปี)) เป็นผู้ที่มีความประพฤติดี ไม่เคยต้องรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก ไม่เคยมีพระบรมราชานุญาตให้เรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์

  7. ข้าราชการ-ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน - เริ่มต้นขอ บ.ม. เมื่อรับราชการครบ 5 ปี และเลื่อนได้ถึง จ.ช. ระดับชำนาญงาน - เริ่มต้นขอ ต.ม. - ขอ ต.ช. เมื่อดำรงตำแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี

  8. ข้าราชการ-ประเภทวิชาการข้าราชการ-ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ - เริ่มขอ ต.ม. เมื่อรับราชการครบ 5 ปี ระดับชำนาญการ (เลื่อนได้ถึง ท.ช.) - เริ่มขอ ต.ช. - ขอ ท.ม. เมื่อได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่า 22,140 บาท - ขอ ท.ช. เมื่อได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่า 22,140 บาท มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี

  9. ข้าราชการ-ประเภทวิชาการข้าราชการ-ประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ (เลื่อนได้ถึง ป.ม.) - เริ่มขอ ท.ช. - ขอ ป.ม. เมื่อเงินเดือนเต็มขั้น (58,390 บาท) และได้ ท.ช. มาแล้ว ไม่น้อยกว่า 5 ปี ระดับเชี่ยวชาญ (เลื่อนได้ถึง ม.ว.ม.) - ขอ ป.ม. เมื่อได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี - ขอ ป.ช. เมื่อได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี - ขอ ม.ว.ม. เมื่อได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี (ในปีเกษียณขอสูงขึ้นได้อีก 1 ชั้นตรา แต่ไม่เกิน ป.ช.)

  10. ข้าราชการ-ประเภทอำนวยการข้าราชการ-ประเภทอำนวยการ ระดับต้น - เริ่มต้นขอ ท.ช. - ขอ ป.ม. เมื่อได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าขั้นสูงของระดับชำนาญการพิเศษ (58,390 บาท) และได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ระดับสูง - เริ่มต้นขอ ป.ม. เมื่อได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี - ขอ ป.ช. เมื่อได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี - ขอ ม.ว.ม. เมื่อได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี - ในปีเกษียณขอสูงขึ้นได้อีก 1 ชั้นตรา แต่ไม่เกิน ป.ช.

  11. หมายเหตุ** 1.ในกรณีการนับระยะเวลาเพื่อเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เลื่อน ชั้นตราให้สูงขึ้น หากผู้ขอพระราชทานเครื่องราชฯ ถูกลงโทษทางวินัยในปีใด ให้เพิ่มกำหนดระยะเวลาการขอพระราชทานอีก 1 ปี ยกเว้นโทษภาคทัณฑ์ 2. ในกรณีผู้ขอรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ผู้ใดถูกกล่าวหาว่า (1) กระทำความผิดทางวินัยอย่างร้ายแรงและถูกตั้งกรรมการสอบสวนแล้ว หรือ (2) กระทำความผิดทางอาญา และอยู่ระหว่างสอบสวนของพนักงานสอบสวนหรืออยู่ระหว่างการดำเนินคดีอาญาในศาล แม้คดียังไม่ถึงที่สุด เว้นแต่ความผิดลหุโทษหรือความผิดที่มีโทษปรับสถานเดียวคณะกรรมการฯ อาจมีมติให้รอการขอพระราชทานเครื่องราชฯ สำหรับผู้นั้นไว้ก่อนก็ได้

  12. การเสนอขอพระราชทานเหรียญจักรพรรดิมาลาการเสนอขอพระราชทานเหรียญจักรพรรดิมาลา • รับราชการครบ 25 ปีบริบูรณ์ นับแต่วันเริ่มบรรจุเข้ารับราชการจนถึงวันก่อนวันที่ 28 กรกฎาคม ของปีที่จะเสนอขอ • ต้องรับราชการด้วยความเรียบร้อย (ไม่ถูกลงโทษทางวินัย ถึงแม้ได้รับการล้างมลทินแล้ว ก็ไม่สามารถเสนอขอเหรียญจักรพรรดิมาลาได้ และต้องไม่เป็นผู้ที่เคยไม่ได้รับการเลื่อนเงินเดือนเนื่องจากผลการประเมินการปฏิบัติราชการต่ำกว่าเกณฑ์ ลาป่วย ลากิจ และมาสายเกิน) • กรณีออกจากราชการไปแล้ว ขอกลับเข้ารับราชการใหม่ให้นับเวลาการบรรจุครั้งแรกกับครั้งหลังรวมกันได้

More Related