1 / 47

บทที่ 8

บทที่ 8. การจัดการความรู้ Knowledge Management. Knowledge resides in the users and not in the collection. ความรู้อยู่ในผู้ใช้ ไม่ใช่อยู่ในแหล่งรวมความรู้ . การจัดการความรู้. การเรียนรู้ตลอดชีพ ทำให้เกิดสังคมการเรียนรู้ การเปลี่ยนแปลงเป็นแรงผลักดันที่ทำให้องค์กรต้องเรียนรู้

Download Presentation

บทที่ 8

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 8 การจัดการความรู้ Knowledge Management Knowledge resides in the users and not in the collection. ความรู้อยู่ในผู้ใช้ ไม่ใช่อยู่ในแหล่งรวมความรู้ 

  2. การจัดการความรู้ • การเรียนรู้ตลอดชีพ ทำให้เกิดสังคมการเรียนรู้ • การเปลี่ยนแปลงเป็นแรงผลักดันที่ทำให้องค์กรต้องเรียนรู้ • สังคมเรียนรู้นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมหรือองค์ความรู้ใหม่

  3. ความหมายของการจัดการความรู้ความหมายของการจัดการความรู้ MIS for Admin • นพ.วิจารณ์ พานิช ได้ให้ความหมายของคำว่า “การจัดการความรู้” คือ สำหรับนักปฏิบัติ การจัดการความรู้คือ เครื่องมือ เพื่อการบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 4 ประการไปพร้อมๆ กัน ได้แก่ 1. บรรลุเป้าหมายของงาน 2. บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน 3. บรรลุเป้าหมายการพัฒนาองค์กรไปเป็นองค์กรเรียนรู้ และ 4. บรรลุความเป็นชุมชน เป็นหมู่คณะ ความเอื้ออาทรระหว่างกันในที่ทำงาน

  4. ประโยชน์ของการจัดการความรู้ประโยชน์ของการจัดการความรู้ บทบาทความสำคัญของสารสนเทศ เป็นผลเนื่องมาจากการ เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ยุคเกษตรกรรม » ที่ดิน, แรงงาน ยุคอุตสาหกรรม » คน, เครื่องจักร ยุคสารสนเทศ » ข้อมูล, ข่าวสาร, ความรู้

  5. ประโยชน์ของการจัดการความรู้ประโยชน์ของการจัดการความรู้ 1. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร 2. ป้องกันการสูญหายของภูมิปัญญา ในกรณีที่บุคลากร เกษียณอายุ ลาออก หรือเสียชีวิต 3. เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและความอยู่รอด 4. เป็นการลงทุนในต้นทุนมนุษย์ ในการพัฒนาความสามารถที่จะแบ่งปันความรู้ที่ได้เรียนรู้มาให้กับคนอื่นๆ ในองค์กร และนำความรู้ไปปรับใช้กับงานที่ทำอยู่ให้เกิดประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น เป็นการการพัฒนาคน และพัฒนาองค์กร

  6. ประโยชน์ของการจัดการความรู้ประโยชน์ของการจัดการความรู้ 5. ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการตัดสินใจและวางแผนดำเนินงานให้รวดเร็ว และดีขึ้น เพราะมีสารสนเทศ หรือแหล่งความรู้เฉพาะที่มีหลักการ เหตุผล และน่าเชื่อถือช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ 6. ผู้บังคับบัญชาสามารถทำงานเชื่อมโยงกับผู้ใต้บังคับบัญชาให้ใกล้ชิดกันมากขึ้น ช่วยเพิ่มความกลมเกลียวในหน่วยงาน 7. เมื่อพบข้อผิดพลาดจากการปฏิบัติงาน ก็สามารถหาวิธีแก้ไขได้ทันท่วงที

  7. MIS for Admin Knowledge Management

  8. ความหมายของการจัดการความรู้ความหมายของการจัดการความรู้ • สรุป การจัดการความรู้นั้นเป็นการบูรณาการศาสตร์ 2 สาขาเข้าด้วยกันคือ ความรู้ (Knowledge) การบริหารจัดการ (Management) โดยเน้นที่กระบวนการจัดการข่าวสาร สารสนเทศ และความรู้ ด้วยการให้ความสำคัญกับบุคคล โดยนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วย จัดการความรู้ผ่านช่องทางความรู้ต่าง ๆ

  9. ความหมายของความรู้ ความรู้ คือ สิ่งที่สั่งสมจากการศึกษาเล่าเรียน ค้นคว้าหรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ ความเข้าใจ อาจ รับมาจากการได้ฟัง การคิดหรือการปฏิบัติ KM is a Journey, not a destination.     การจัดการความรู้เป็นการเดินทาง ไม่ใช่เป้าหมายปลายทาง

  10. ความหมายของความรู้ ความรู้ คือ สารสนเทศที่ผ่านกระบวนการคิด เปรียบเทียบ เชื่อมโยงกับความรู้อื่นจนเกิดความเข้าใจและนำไปใช้ประโยชน์ในการสรุปและตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยไม่จำกัดเวลา A little knowledge that acts is worth more than much knowledge that is idle. ความรู้เพียงเล็กน้อยเมื่อปฏิบัติมีค่ามากกว่าความรู้มหาศาลที่อยู่เฉย ๆ

  11. ประเภทของความรู้ ความรูอาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ • ความรูซ้อนเร้นความรู้อย่างไม่เป็นทางการ (Tacit Knowledge) 2. ความรูที่ปรากฏชัดแจ้งความรู้อย่างเป็นทางการ (Explicit Knowledge)

  12. ประเภทของความรู้ Explicit Knowledge : EK (ความรู้ที่ชัดแจ้ง) Tacit Knowledge : TK (ความรู้ที่ฝังลึกในคน/ความรู้โดยนัย ) คือ ความรู้ที่เป็นเหตุและผลที่สามารถบรรยาย/ถอดความออกมาได้ในรูปของทฤษฏี การแก้ปัญหา คู่มือ และฐานข้อมูล ความรู้ที่สามารถอธิบายหรือเขียนออกมาได้โดยง่าย เช่น คู่มือการปฏิบัติงาน หรือ วิธีการใช้เครื่องมือต่างๆ (ทุกคนสามารถเข้าถึง/ซื้อได้) คือ ความรู้ที่มีอยู่ในแต่ละบุคคลที่ได้มาจากประสบการณ์และความสามารถส่วนตัว ยากที่จะเขียนหรืออธิบายออกมาได้ เช่น ให้บอกวิธีในการว่ายน้ำ, วิธีการวาดรูปให้สวย, วิธีการตอบสนองต่อปัญหาเฉพาะหน้าใดๆ ที่เกิดขึ้น ความรู้ชนิดนี้พัฒนาและแบ่งปันกันได้ และเป็นความรู้ที่จะทำให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขันได้

  13. ความรู้แบบชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) 20% ความรู้แบบซ่อนเร้น (Tacit Knowledge) 80%

  14. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) อธิบายได้ แต่ยังไม่ถูกนำไปบันทึก ( 1 ) อธิบายไม่ได้ อธิบายได้ แต่ไม่อยากอธิบาย ( 2 ) ( 3 ) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) 9

  15. ความรูที่ปรากฏชัดแจ้งความรูที่ปรากฏชัดแจ้ง ความรูที่ปรากฏชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรูที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได โดยผ่านวิธีตางๆ เชน การบันทึกเปนลายลักษณอักษร เป็นความรู้ที่อยู่ใน รูปแบบของเอกสารตำราทฤษฎีคูมือ บางครั้งเรียก วาเปนความรูแบบ “รูปธรรม”

  16. สินทรัพย์ในองค์กร 3 ประเภท • สินทรัพย์ทางการเงิน • สินทรัพย์ที่มีตัวตน เช่น อาคาร เครื่องจักร วัสดุครุภัณฑ์ • สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน เช่น ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร ความรู้และสารสนเทศ

  17. ข้อมูล, สารสนเทศ, ความรู้ ความเข้าใจ (Know- How) ข้อมูล (Data) ประมวลผลข้อมูล (Data Processing) สารสนเทศ (Information) ความรู้ (Knowledge)

  18. ความรู้..จากส่วนตัวเป็นขององค์กรความรู้..จากส่วนตัวเป็นขององค์กร โลตัสแบ่งความรู้ของคนไว้ 3 ประเภท คือ • ความรู้โดยนัย • ความรู้ที่ชัดแจ้ง • ความรู้ที่ฝังอยู่ในองค์กร

  19. ความรู้..จากส่วนตัวเป็นขององค์กรความรู้..จากส่วนตัวเป็นขององค์กร โลตัสแบ่งความรู้ของคนไว้ 3 ประเภท คือ • ความรู้โดยนัย (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ไม่สามารถอธิบายโดยใช้คำพูดได้ มีลักษณะเป็นความเชื่อ ฝึกฝนเให้เกิดความชำนาญ มีลักษณะเป็นเรื่องส่วนบุคคล ต้องใช้วิจารณญาณ เช่น ความสามารถในการชิมรสไวน์ ทักษะในการสังเกตเปลวควันจากปล่องโรงงานว่ามีปัญหาใน กระบวนการผลิตหรือไม่

  20. ความรู้..จากส่วนตัวเป็นขององค์กรความรู้..จากส่วนตัวเป็นขององค์กร • ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่รวบรวมได้ง่าย มีลักษณะเป็นวัตถุดิบ (Objective) เป็นทฤษฏี สามารถแปลงเป็นรหัสในการถ่ายทอดโดยวิธีการที่เป็นทางการ เช่น นโยบายขององค์กร กระบวนการทำงาน ซอฟต์แวร์ เอกสาร และกลยุทธ์ เป้าหมาย และความสามารถขององค์กร

  21. ความรู้..จากส่วนตัวเป็นขององค์กรความรู้..จากส่วนตัวเป็นขององค์กร 3. ความรู้แบบฝังอยู่ภายใน (Embedded Knowledge) เป็นความเข้าใจในกระบวนการสินค้าและบริการซึ่งต้องอาศัยความชำนาญและประสบการณ์

  22. ขอบเขตและแหล่งขององค์ความรู้ขอบเขตและแหล่งขององค์ความรู้ วิศวกรองค์ความรู้จะเป็นผู้ประสานงานติดต่อกับผู้เชี่ยวชาญ เพื่อรวบรวมความรู้ไว้ในฐานองค์ความรู้ มุมมองของวิศวกรรมองค์ความรู้แบ่งออกได้ 2 ด้าน • มุมมองด้านแคบ เกี่ยวกับการจัดรูปแบบองค์ความรู้ การตรวจสอบความถูกต้อง การอนุมาน การอธิบาย และบำรุงรักษา 2. มุมมองด้านกว้าง เกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาและการบำรุงรักษา

  23. กระบวนการได้มาซึ่งองค์ความรู้กระบวนการได้มาซึ่งองค์ความรู้ แบ่งเป็น 5 ขั้นตอน • การดึงองค์ความรู้ • การตรวจสอบความถูกต้องขององค์ความรู้ • การจัดรูปแบบขององค์ความรู้ • การสรุปความ • การอธิบายความและการใช้เหตุผล

  24. กระบวนการได้มาซึ่งองค์ความรู้ (ต่อ) • การดึงองค์ความรู้ จากแหล่งต่าง ๆ เช่น ผู้เชี่ยวชาญ หนังสือ เอกสารหรือสื่อสิ่งพิมพ์ องค์ความรู้แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ - องค์ความรู้ทั่วไป - องค์ความรู้เกี่ยวกับองค์ความรู้ คือ องค์ความรู้ เฉพาะทางเฉพาะด้าน

  25. กระบวนการได้มาซึ่งองค์ความรู้ (ต่อ) 2.การตรวจสอบความถูกต้องขององค์ความรู้ อาจใช้วิธีการ ตรวจสอบตามตามสภาพของข้อมูลจนเป็นที่ยอมรับในองค์กรนั้นๆ • การจัดรูปแบบองค์ความรู้ เป็นกิจกรรมในขั้นตอนการจัดรูปแบบองค์ความรู้ เก็บข้อมูลลงฐานองค์ความรู้ เชื่อมโยงความรู้เข้าด้วยกัน แปลงองค์ความรู้โดยการเขียน โปรแกรมหรือลงรหัส

  26. กระบวนการได้มาซึ่งองค์ความรู้ (ต่อ) • การสรุปความ เป็นขั้นตอนการออกแบบซอฟต์แวร์เพื่อประมวลองค์ความรู้ ได้ผลลัพธ์เพื่อนำไปแสดงผลในส่วนของผู้ใช้ • การอธิบายความและการใช้เหตุผล เป็นการอธิบายและให้เหตุผลที่ได้ออกแบบและเขียนโปรแกรมหรือลงรหัสไว้

  27. แหล่งกำเนิดขององค์ความรู้แหล่งกำเนิดขององค์ความรู้ ได้จากภาพถ่าย หนังสือ แผนที่ ผังงาน ไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ทั้งภาพ และเสียง องค์ความรู้แบ่งเป็น 2 รูปแบบ 1. รูปแบบที่เป็นทางการ 2. รูปแบบที่ไม่เป็นทางการ

  28. ปัญหาในการถ่ายโอน หรือการถ่ายทอดองค์ความรู้ • การตีความองค์ความรู้ จะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับความทรงจำ การรับรู้จากความเชื่อของตน จิตใต้สำนึกและการรับรู้จากวิธีการทางวิทยาศาสตร์ของแต่ละคน • การส่งผ่านองค์ความรู้ อาจยุ่งยากและซับซ้อน นำเข้า ประมวลผล แสดงผล จัดเก็บ สื่อสารหรือโต้ตอบ • จำนวนของผู้ที่เกี่ยวข้อง หากมีบุคคลจำนวนมากอาจเกิดความยุ่งยาก • โครงสร้างขององค์ความรู้ โครงสร้างในการนำเสนอจะต้องชัดเจน นำเสนออย่างไรผู้รับจึงจะเข้าใจ (กราฟ แบบสรุป รายงาน)

  29. วิธีที่ได้มาซึ่งองค์ความรู้วิธีที่ได้มาซึ่งองค์ความรู้ • การสัมภาษณ์ของวิศวกรองค์ความรู้ ทั้งแบบไม่มีโครงสร้างและแบบมีโครงสร้าง • วิธีการติดตามผล ส่วนใหญ่ใช้การวิเคราะห์อย่างเป็นลำดับขั้นตอน เป็นการวิเคราะห์คำพูดของผู้เชี่ยวชาญ แปลความสรุป นำเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญเพื่อทบทวนอีกครั้ง • วิธีการสังเกตการณ์และเทคนิคอื่นๆ เป็นการใช้วิธีการสังเกตพฤติกรรมของผู้เชี่ยวชาญ หรือการวิเคราะห์จากกรณีศึกษา การระดมสมอง การแสดงความคิดเห็น • การได้มาซึ่งองค์ความรู้ผ่านทางอินเทอร์เน็ต

  30. การจัดรูปแบบองค์ความรู้การจัดรูปแบบองค์ความรู้ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ • องค์ความรู้ระดับง่าย องค์ความรู้ระดับนี้ไม่ค่อยใช้ในระบบผู้เชี่ยวชาญเนื่องจำไม่ค่อยมีประโยชน์ ยกเว้นเป็นงานที่ต้องทำประจำ • องค์ความรู้ระดับผิวเผิน อาจได้จากการสังเกต การรับรู้จากจิตใต้สำนึก ไม่สามารถรับรองผลลัพธ์ได้ว่าถูกต้องเสมอไป เป็นองค์ความรู้กับงานเฉพาะด้านที่ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจในสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง • องค์ความรู้ระดับเชิงลึก สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับงานต่างๆ ได้ หลากหลาย ยากต่อการรวบรวมจัดเก็บ

  31. การจัดการความรู้ในรูปแบบปลาทูการจัดการความรู้ในรูปแบบปลาทู

  32. การจัดการความรู้ในรูปแบบปลาทูการจัดการความรู้ในรูปแบบปลาทู • Knowledge Vision (KV)คือ วิสัยทัศน์ของการจัดการความรู้ เป็นการกำหนดเป้าหมายของการจัดการความรู้ว่าดำเนินการไปเพื่อวัตถุประสงค์อะไร ก็เปรียบเสมือนหัวปลาที่บอกทิศทางในการว่าย ว่าจะเคลื่อนที่ไปทางใด โดยเป้าหมายสำคัญที่กำหนดขึ้นต้องสอดคล้อง และสนับสนุนกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ขององค์กร เช่น การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะของพนักงานสู่ความเป็นเลิศ, การจัดการความรู้เรื่องกฎและระเบียบสำหรับพนักงานสายสนับสนุน และการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการสินค้า OTOP ระดับ 5 ดาว เป็นต้น

  33. การจัดการความรู้ในรูปแบบปลาทูการจัดการความรู้ในรูปแบบปลาทู 2. Knowledge Sharing (KS) คือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งถือว่าเป็นหัวใจ และยากที่สุดสำหรับการจัดการความรู้ เพราะเป็นเรื่องยากที่จะทำให้คนแบ่งปันความรู้ให้ผู้อื่น คนทั่วไปมักคิดว่า ผู้มีความรู้ คือ ผู้ที่มีอำนาจ ถ้าต้องถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้อื่นจะทำให้ตนเองรู้สึกไม่มั่นคง ไม่มีอำนาจ อาจโดนคนอื่นแย่งตำแหน่ง แย่งหน้าที่การงาน เป็นต้น ดังนั้นในการจัดการความรู้ในส่วนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จึงมุ่งหวังเพื่อจัดการให้เกิดเหตุปัจจัย และสิ่งแวดล้อมที่จะส่งเสริมให้คนตระหนัก และพร้อมที่จะแบ่งปันและเรียนรู้ร่วมกัน

  34. การจัดการความรู้ในรูปแบบปลาทูการจัดการความรู้ในรูปแบบปลาทู 3.Knowledge Assets (KA)คือ ความรู้ที่ถูกจัดเก็บอยู่ใน คลังความรู้ เป็นความรู้ที่มีความสำคัญ และสอดคล้องกับเป้าหมายในการจัดการความรู้ คลังความรู้ที่ดี จะต้องมีการวางระบบในการจัดเก็บ จัดหมวดหมู่ ผู้ใช้สามารถสืบค้นได้อย่างรวดเร็ว จึงต้องอาศัยเทคโนโลยีและการสื่อสารโดยเฉพาะเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต เพื่ออำนวยความสะดวก

  35. การบริหารจัดการความรู้แบบก้านกล้วยโมเดลการบริหารจัดการความรู้แบบก้านกล้วยโมเดล

  36. การบริหารจัดการความรู้แบบก้านกล้วยโมเดลการบริหารจัดการความรู้แบบก้านกล้วยโมเดล กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process หรือ เรียกย่อๆ ว่า KM Process) เปรียบได้เสมือนกับตัวช้าง หรือ อาจจะชื่อว่า “ก้านกล้วยโมเดล” เพื่อทำให้เราเข้าใจได้ง่ายขึ้น ซึ่งในแต่ละส่วนของช้างนั้นมีหน้าที่และมีความสำคัญเท่าๆ กันจะขาดส่วนใดส่วนหนึ่งไม่ได้เพราะจะเป็นช้างพิการ

  37. ความรู้แบบก้านกล้วยโมเดลความรู้แบบก้านกล้วยโมเดล งวงช้าง เป็นอวัยวะที่ดูดน้ำเปรียบได้กับการเสาะแสวงหาและการถอดความรู้จากคนและจากแหล่งข้อมูลต่างๆ • งาช้าง เป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงคุณลักษณะของช้าง เปรียบได้กับ ภาวะผู้นำในองค์กรที่จะต้องเห็นด้วยและสนับสนุนการจัดการความรู้

  38. ความรู้แบบก้านกล้วยโมเดลความรู้แบบก้านกล้วยโมเดล • ส่วนลำตัวของช้าง มีขนาดใหญ่และมีกิจกรรมากมายที่จะต้องทำจึงเปรียบได้เสมือนกับ KM Process • ส่วนหัวของช้าง นับว่ามีความสำคัญมากเช่นไว้บรรจุสมองเพื่อควบคุมการทำงานของร่างกายเปรียบได้กับ ฐานข้อมูลความรู้ (Data Warehouse) และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing and Transferring) ขององค์กร

  39. ตาของช้าง เปรียบเหมือนกับวิสัยทัศน์ขององค์กรที่จะต้องมีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ ขาทั้งสี่ข้าง ของช้างเป็นองค์กรประกอบที่สำคัญเพื่อจะพาช้างเดินไปข้างหน้าเปรียบได้กับ วัฒนธรรมองค์กร, การสื่อสาร, การพัฒนา Knowledge Worker และการวัดประเมินการจัดการความรู้ ความรู้แบบก้านกล้วยโมเดล

  40. หางของช้าง เป็นส่วนที่มีความสำคัญเช่นเดียว คือ เทคโนโลยี ที่คอยขับเคลื่อนให้การจัดการความรู้นั้นประสบความสำเร็จ และในฉบับต่อๆไปผู้เขียนจะอธิบายถึงกระบวนการจัดการความรู้ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ความสำคัญในการขับเคลื่อนการจัดการความรู้ให้ประสบความสำเร็จต่อ

  41. วงจรชีวิตของการจัดการความรู้วงจรชีวิตของการจัดการความรู้ ความรู้เด่นชัด ความรู้ฝังลึก

  42. วงจรชีวิตของการจัดการความรู้วงจรชีวิตของการจัดการความรู้ • การจัดการ“ความรู้เด่นชัด” จะเน้นไปที่การเข้าถึงแหล่งความรู้ ตรวจสอบ และตีความได้ เมื่อนำไปใช้แล้วเกิดความรู้ใหม่ ก็นำมาสรุปไว้ เพื่อใช้อ้างอิง หรือให้ผู้อื่นเข้าถึงได้ต่อไป (ดูวงจรทางซ้ายในรูป) • ส่วนการจัดการ“ความรู้ซ่อนเร้น” นั้นจะเน้นไปที่การจัดเวทีเพื่อให้มีการแบ่งปันความรู้ที่อยู่ในตัวผู้ปฏิบัติ ทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน อันนำไปสู่การสร้างความรู้ใหม่ ที่แต่ละคนสามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงานได้ต่อไป (ดูวงจรทางขวาในรูป)

  43. การคิดแบบหมวก 6 ใบ แต่ละใบของหมวกคิดทั้งหกจะมีสีต่างกัน ขาว แดง ดำ เหลือง เขียว ฟ้า สีคือชื่อของหมวกแต่ละหมวก สีของแต่ละหมวกยังมีความสัมพันธ์กับการทำงานของมันด้วย

  44. การคิดแบบหมวก 6 ใบ • สีขาว สีขาวเป็นกลางไม่มีอคติ ไม่ลำเอียง หมวกขาวจะเกี่ยวข้องกับข้อเท็จจริงและตัวเลข • สีแดง สีแดงแสดงถึงความโกรธ ความเดือดดาล และอารมณ์ สีแดงให้มุมมองทางด้านอารมณ์ • สีดำสีดำคือข้อควรระวัง และคำเตือน ซึ่งจะชี้ให้เห็นถึงจุดอ่อนของความคิดนั้นๆ • สีเหลือง ให้ความรู้สึกในทางที่ดี หมวกสีเหลืองเป็นมุมมองในทางบวก รวมถึงความหวัง และคิดในแง่ดีด้วย • สีเขียว หมายถึงความคิดริเริ่ม และความคิดใหม่ ๆ • สีฟ้า หมายถึงการควบคุม การจัดระบบ กระบวนการคิดและการใช้หมวกอื่นๆ

  45. จบแล้วค่ะ

More Related