1 / 34

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโป่งน้ำร้อน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโป่งน้ำร้อน. ยินดีต้อนรับ. สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน. ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี. ข้อมูลทั่วไป.

phuc
Download Presentation

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโป่งน้ำร้อน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโป่งน้ำร้อนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโป่งน้ำร้อน ยินดีต้อนรับ

  2. สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานสภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี

  3. ข้อมูลทั่วไป อำเภอโป่งน้ำร้อน มี 5 ตำบล ตำบลโป่งน้ำร้อนเป็นตำบลแรกในการก่อตั้ง มีหมู่บ้านรับผิดชอบ 13 หมู่บ้าน แบ่งเขตรับผิดชอบงานสาธารณสุขของ รพ.สต. บ้านวังกระทิง จำนวน 5 หมู่บ้าน และรพ.สต.บ้านโป่งน้ำร้อน จำนวน 8 หมู่บ้าน

  4. ทำเลที่ตั้ง • ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต.หนองตาคง อำเภอโป่งน้ำร้อน • ทิศใต้ ติดต่อกับ ต.ปัถวี อ.มะขาม ต.บ่อเวฬอ.ขลุง • ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต.คลองใหญ่ อำเภอโป่งน้ำร้อน • ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต.โป่งน้ำร้อน และ ต.ทับไทร ********************

  5. แผนที่ ตำบลโป่งน้ำร้อน รพ.สต.บ้านวังกระทิง รพ.สต.บ้านโป่งน้ำร้อน

  6. จำนวนประชากร ตำบลโป่งน้ำร้อนมีประชากรทั้งสิ้น 8,058 คน แยกเป็นชาย 4,185 คน หญิง 3,873 คน สัดส่วนประชากรเพศ ชาย : หญิง เท่ากับ 1:1.08

  7. ปิรามิดประชากร

  8. การขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลการขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบล

  9. การมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชนการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน -ผู้นำชุมชน(ผู้ใหญ่บ้าน/ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน) -คณะกรรมการหมู่บ้าน -สมาชิกอบต. -กลุ่มอสม. -กลุ่มผู้สุงอายุ -กลุ่มแม่บ้านสตรี -กลุ่มเยาวชน เป็นต้น

  10. การจัดทำแผนด้านสุขภาพ จัดเวทีประชาคมเพื่อวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพการจัดทำแผนด้านสุขภาพ จัดเวทีประชาคมเพื่อวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ • กลุ่ม/องค์กรที่มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนและร่วมกิจกรรมได้แก่ • ผู้ใหญ่บ้าน/ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน • คณะกรรมการหมู่บ้าน • นายก อบต./สมาชิก อบต. • กลุ่มแม่บ้าน • กลุ่มผู้สูงอายุ • พัฒนาชุมชน เกษตรตำบล

  11. ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ที่สำคัญปัญหาสุขภาพในพื้นที่ที่สำคัญ 1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก เพิ่มขึ้น ร้อยละ 14.74 ของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง 2. อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า กรัม ร้อยละ 15 3. จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน ร้อยละ 5.65 4.จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 8.43 5.จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ 7.01 6. สตรีอายุ 30-60 ปี รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยวิธี Pap Smear ร้อยละ10.64 7.จำนวนผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรัง 412 คน คิดเป็นร้อยละ 40.08ของผู้สูงอายุทั้งหมด

  12. กลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป (กลุ่มเสี่ยง) ผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

  13. พฤติกรรม : มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสมตามหลักการ3 อ. (อาหาร, ออกกำลังกาย,อารมณ์)กลุ่มเสี่ยง : มีรอบเอวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คือ ผู้ชาย รอบเอวน้อยกว่า 90 ซม. ผู้หญิง รอบเอวน้อยกว่า 80 ซม.: ได้รับการตรวจคัดกรอง ความดันโลหิตสูงและ เบาหวานตามเกณฑ์ที่กำหนด : มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง เหมาะสมตามหลักการ 3 อ. 2ส : มีการออกกำลังกายอย่างถูกต้อง เหมาะสม อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที(จนสามารถควบคุมน้ำหนักตัวเองได้)กลุ่มป่วย : มีการดูแลตนเองตามคู่มือผู้ป่วย และปฏิบัติตัวตามคำแนะนำของแพทย์อย่างเคร่งครัด

  14. ระดับกระบวนการ สร้างกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม(รายประเด็น) 3. อปท.และหน่วยงานต่างๆ ทั้งใน/นอกพื้นที่ มีบทบาทสนับสนุนชุมชน/ท้องถิ่น อย่างไรบ้าง? 1.บทบาทของประชาชน/ชุมชน/ท้องถิ่นในระยะที่ผ่านมามีอะไรบ้าง?( กลุ่มเป้าหมาย) 2.ในอนาคตจะสามารถทำอะไรได้เองเพิ่มบ้าง?เป็นอย่างไร? 4.ในอนาคต อปท.และหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องควรจะมีบทบาท/สนับสนุนอะไรได้เองบ้าง? ระดับภาคี/เครือข่าย ระดับประชาชน ศักยภาพ/ขีดความสามารถของชุมชนและท้องถิ่น ในงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค(P&P)ประเด็น................. 5.ศักยภาพในการจัดการของพื้นที่ในระยะที่ผ่านมามีอะไรบ้าง?(การสื่อสาร,การประสานงาน,การบริหารจัดการ,การวางแผนฯลฯ) 8.การเรียนรู้และพัฒนาทักษะ/ข้อมูล/ทีมงาน/องค์กรฯลฯ ในระยะต่อไปต้องทำอะไรบ้าง? ระดับพื้นฐาน 7.การเตรียมทักษะ/ข้อมูล/ทีมงาน/องค์กร ฯลฯ ในระยะที่ผ่านมามีอะไรบ้าง? 6.ในอนาคต ควรจะมีความเชี่ยวชาญในการจัดการอะไรเพิ่มบ้าง? (อปท.และหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง)

  15. แผนที่ความคิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

  16. ระดับประชาชน สิ่งที่ดี/ความภาคภูมิใจ(จุดเด่น) 1.ประชาชนสนใจดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น 2.มีการคัดกรองสุขภาพโดย อสม.และ จนท. 3.มีชมรมสร้างสุขภาพเช่น ชมรมผู้พิการ ผู้สูงอายุ ชมรมออกกำลังกาย

  17. ระดับประชาชน ปัญหา/อุปสรรค(จุดด้อย) 1.ประชาชนยังบริโภคอาหารรส หวาน มัน เค็ม 2.ประชาชนยังดื่มสุรา สูบบุหรี่ 3.ประชาชนขาดความต่อเนื่องในการออกกำลังกาย 4.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังให้ความสำคัญเรื่องปากท้องมากกว่าสุขภาพ 5.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

  18. ระดับประชาชน สิ่งที่ต้องการให้เกิด 1.มีชมรมสร้างสุขภาพที่ดำเนินการต่อเนื่อง 2.ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงไม่มีโรคแทรกซ้อน 3.อัตราการเกิดโรคโรคเบาหวาน/ความดันลดลง 4.อยากให้มีคนดูแลผู้ป่วยแบบใกล้บ้านใกล้ใจ

  19. การมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างยั่งยืนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างยั่งยืน ด้านภาคีเครือข่าย จุดเด่น การทำงานเป็นทีมร่วมมือกันทุกหน่วยงาน อบต.อสม.จนท.สธ. ผู้นำ จุดด้อย ท้องถิ่นมีนโยบายในการดูแลสุขภาพประชาชนยังไม่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม

  20. ด้านภาคีเครือข่าย สิ่งที่ต้องการให้เกิด 1.ให้ท้องถิ่นมีการจัดการดูแลสุขภาพประชาชนโดยตรง 2.รณรงค์ออกคัดกรองเบาหวาน ความดันร่วมกัน 3.มีนโยบายสาธารณะที่ชัดเจน

  21. ด้านกระบวนการ จุดเด่น 1.มีการคัดกรองเบาหวาน/ความดันในกลุ่มเสี่ยง 2.มีการเยี่ยมผู้ป่วยเรื้อรังที่บ้าน 3.มีการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ต่างๆ จุดด้อย วัสดุอุปกรณ์ไม่เพียงพอ

  22. ด้านกระบวนการ สิ่งที่ต้องการให้เกิด 1.มีแนวทางในการดูแลกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างต่อเนื่อง 2.มีการตรวจคัดกรองอย่างต่อเนื่องและการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ 3.มีนโยบายสาธารณะที่ชัดเจน 4.ทีมเยี่ยมบ้านที่ใกล้บ้านใกล้ใจ

  23. ด้านพื้นฐาน จุดเด่น 1.อสม.ให้ความร่วมมือในการติดตามและเฝ้าระวังโรค 2.มีการอบรมเพิ่มความรู้ให้แก่ประชาชนและอสม. จุดด้อย 1.ขาดข้อมูลพื้นฐาน ขาดการเก็บข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน 2.ขาดทักษะในการดำเนินการ

  24. ด้านพื้นฐาน สิ่งที่ต้องการให้เกิด 1.การจัดทำข้อมูลประชาชนกลุ่มเสี่ยงและจัดเก็บข้อมูลให้เป็นปัจจุบันและสะดวกต่อการค้นหา 2.จัดอบรมฟื้นฟูเพื่อเพิ่มทักษะในการทำงาน

  25. โครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชนโครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชน

  26. โครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชนโครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชน • จัดอบรม อสม.ในการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง(สร้างทีมเยี่ยมบ้านในชุมชน) • จัดมหกรรมตรวจคัดกรองสุขภาพสุขภาพประจำปีแก่ประชาชนกลุ่ม 15 ปี ขึ้นไปทุกคน

  27. โครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชนโครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชน • ตรวจมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมาย • ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเป้าหมาย • รถตรวจมะเร็งปากมดลูกเคลื่อนที่

  28. โครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชนโครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชน • ตรวจคัดกรองหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดในกลุ่มเกษตรกร • ตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ

  29. โครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชนโครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชน • - สำรวจและส่งเสริมการออกกำลังกายให้กับประชาชน • แนะนำการปฏิบัติตนตามหลัก 3อ.2ส.ให้กับประชาชน • .จัดตั้งคลินิกไร้พุง DPAC ร่วมกับโรงพยาบาลโป่งน้ำร้อน

  30. โครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชนโครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชน งบประมาณ • จากกองทุนสุขภาพตำบล 92,500 บาท กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโป่งน้ำร้อน

  31. ภาพกิจกรรมการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโป่งน้ำร้อนภาพกิจกรรมการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโป่งน้ำร้อน

  32. โครงการมหกรรมสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชน(สนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน)โครงการมหกรรมสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชน(สนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน)

  33. สิ่งที่คาดว่าจะได้รับสิ่งที่คาดว่าจะได้รับ 1.ประชาชนมีสุขภาพดี 2.เกิดการบูรณาการทุกภาคส่วน 3.เป็นชุมชนต้นแบบในการลดเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 4.เกิดนวตกรรมชุมชนที่จะพัฒนาต่อไป

  34. สวัสดี สานพลัง สร้างสุขภาพชุมชนร่วมกัน

More Related