1 / 33

การขับเคลื่อน “แผนยุทธศาสตร์

การขับเคลื่อน “แผนยุทธศาสตร์ เตรียมความพร้อม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ.2556-2559)”. นายแพทย์รุ่งเรือง กิจผาติ ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่อุบัติใหม่ โฆษกกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (ประธานชมรมพัฒนาระบาดวิทยาแห่งประเทศไทย). โรคติดต่ออุบัติใหม่.

Download Presentation

การขับเคลื่อน “แผนยุทธศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขับเคลื่อน “แผนยุทธศาสตร์ เตรียมความพร้อม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ.2556-2559)” • นายแพทย์รุ่งเรือง กิจผาติ • ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่อุบัติใหม่ • โฆษกกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข • (ประธานชมรมพัฒนาระบาดวิทยาแห่งประเทศไทย)

  2. โรคติดต่ออุบัติใหม่ นิยามองค์การอนามัยโลก หมายถึง โรคติดเชื้อชนิดใหม่ๆ ที่มีรายงานผู้ป่วยเพิ่มขึ้นในระยะ 20 ปีที่ผ่านมา • โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อใหม่ (new infectious diseases) เช่น โรคซาร์ส ไข้หวัดนก ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ โคโรน่าไวรัส • โรคติดต่อที่พบในพื้นที่ใหม่ (new geographical areas) เช่น โรคเวสต์ไนล์ไวรัส • โรคติดต่ออุบัติซ้ำ (Re-emerging infectious diseases) คือ โรคติดต่อที่เคยแพร่ระบาดในอดีตและสงบไปนานแล้ว แต่กลับมาระบาดอีก เช่น โรคคอตีบ • เชื้อโรคดื้อยา (Antimicrobial resistant organisms) เช่น แบคทีเรีย • อาวุธชีวภาพ(Deliberate use of bio-weapons) เช่น แอนแทรกซ์ ฯลฯ

  3. โรคติดต่ออุบัติใหม่ที่พบหรือมีความเสี่ยงของประเทศไทยโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่พบหรือมีความเสี่ยงของประเทศไทย โรคอุบัติใหม่วันนี้ คือโรคประจำถิ่นในวันหน้า ...ถ้าควบคุมไม่ได้

  4. ASEAN: Association of Southeast Asian Nations 10 member countries 570 million population 4.5 million km2

  5. ผลกระทบจากการเปิดการค้าการลงทุนอย่างเสรีผลกระทบจากการเปิดการค้าการลงทุนอย่างเสรี แรงงานข้ามชาติเข้ามามากขึ้น มีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีของกลุ่มประชากรมนุษย์ สัตว์ พืช อาหาร และสินค้า

  6. ตัวอย่างปัญหาด้านสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น • การแพร่ระบาดมากขึ้นของโรคติดต่อ เช่น เอดส์ วัณโรค มาลาเรีย เท้าช้าง ไข้เลือดออก อหิวาต์ • เกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ และโรคที่ ถูกกำจัดให้หมดไปจากประเทศไทยแล้ว เช่น คอตีบ กาฬโรค โปลิโอ รวมทั้ง ปัญหาเชื้อดื้อยา ฯลฯ • การป้องกัน ควบคุมโรคมีความซับซ้อนยิ่งขึ้น

  7. ตัวอย่างปัญหาหลักด้านสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นตัวอย่างปัญหาหลักด้านสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น อาหาร/ผลิตภัณฑ์ที่เสี่ยงต่อสุขภาพเข้าสู่ไทยมากขึ้น เช่น น้ำมันปาล์ม บุหรี่ สุรา ทำให้เกิดโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น การลักลอบนำเข้าสารเคมีหรือผลิตภัณฑ์ต้องห้าม เช่น ผ้าเบรกที่ใช้สารแอสเบสตอสเป็นส่วนประกอบ มีโอกาสนำเข้าสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน เช่น หมวกนิรภัย รถจักรยานยนต์ มีผลต่อการบาดเจ็บ

  8. ความเสี่ยงการเกิดการระบาดโรคติดต่ออุบัติใหม่ในประเทศไทยความเสี่ยงการเกิดการระบาดโรคติดต่ออุบัติใหม่ในประเทศไทย • พบการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ • โรคติดต่ออุบัติซ้ำ รวมถึง เหตุจงใจ • หรืออุบัติเหตุ ในหลายพื้นที่ทั่วโลก • การเดินทางที่สะดวก สามารถเดินทาง • ภายใน ๒๔-๗๒ ชั่วโมง จากทุกแห่งหน • ได้ถึงกันทั่วโลก • ความแตกต่างของกาย เช่น ภูมิไวรับ • ความแตกต่างทางมิติสังคม สิ่งแวดล้อม • วัฒนธรรม เศรษฐกิจ ประเทศ ภูมิภาค

  9. ผลกระทบจากการเกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่ผลกระทบจากการเกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่ • ไม่เพียงแต่ “ผลกระทบด้านสุขภาพ” เท่านั้น ? • ผลกระทบทางเศรษฐกิจ • การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคลดลง • ผลกระทบต่อการส่งออก • รายได้จากการท่องเที่ยว • ผลกระทบทางสังคม • ประชาชนหยุดงาน เนื่องจากการป่วย • โรงเรียนและธุรกิจต่างๆ อาจต้องหยุดกิจการชั่วคราว • เกิดการขาดแคลนอาหารและเครื่องอุปโภคบริโภค • ผลกระทบความมั่นคงของประเทศ

  10. แนวคิดความร่วมมือสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) • > 75% ของโรคติดต่ออุบัติใหม่มีความสัมพันธ์กับสัตว์ • การระบาดมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม • การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค • ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน • บทเรียนจากการป้องกันควบคุมโรค • สุขภาพหนึ่งเดียว • การมีเป้าหมายร่วมกัน (Purposes) + • การมีหลักการร่วมกัน (Principles) + • การมีส่วนร่วมและร่วมมือ (Participate) • = แผนยุทธศาสตร์ฯ (Plan)

  11. การเฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่การเฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่

  12. สถานการณ์ล่าสุด การระบาดโคโรน่าไวรัส สายพันธุ์ใหม่ 2012 และการเตรียมความพร้อมรับมือของประเทศไทย

  13. จอร์แดน การ์ตาร์ ซาร์อุดิอาราเบีย ข้อมูลองค์การอนามัยโลกพบผู้ป่วยจาก 3 ประเทศ มีรายงานอย่างน้อย 9 ราย ยืนยันเสียชีวิต 5 ราย

  14. Novel Coronaviruses

  15. รายงานผู้ป่วยยืนยัน 9 ราย เสียชีวิต 5 ราย ใน 3 ประเทศ (กาตาร์ ซาอุฯ จอร์แดน) • ผู้ป่วยชาวกาตาร์ 2 ราย (ชาย) • อาการปอดบวม ไตวาย อาการดีขึ้น • ไม่มีความสัมพันธ์ทางระบาดวิทยา ไม่มีประวัติการเดินทาง • ผู้ป่วยชาวซาอุดิอาราเบีย 5 ราย • ผู้ป่วย 2 ราย แรก (เสียชีวิต 1 ราย) ไม่มีความสัมพันธ์ทางระบาดวิทยา • ผู้ป่วย 3 ราย หลัง เป็นครอบครัวเดียวกัน อาศัยในบ้านเดียวกัน • (เสียชีวิต 2 ราย) • ผู้ป่วยชาวจอร์แดน 2 ราย เสียชีวิตทั้ง 2 ราย • ตรวจจากตัวอย่างผู้ป่วยปอดบวมย้อนกลับ เมื่อเดือนเมษายน 2555

  16. เวลาผ่านมานานมากแต่ข้อมูลไม่ชัดเจน เวลาผ่านมานานมากแต่ข้อมูลไม่ชัดเจน • มีการป่วยในบุคลากรทางการแพทย์ • ไม่ประมาท เตรียมความพร้อม

  17. เริ่มระบาดที่จีน แพทย์ติดเชื้อจากวางตุ้ง กุมภาพันธ์ 2546

  18. Novel Corona control strategies • เร่ง...วินิจฉัย / ค้นหา • รีบ...ดูแล ในห้องแยกโรค • เร่ง...รายงาน สสจ. สคร. ส.ระบาดวิทยา • รีบ...สอบสวน ค้นหาผู้ป่วย ผู้สัมผัส • เร่ง...ป้องกัน ควบคุม (แยกตัว - Quarantine) • รอ...เฝ้าระวังโรคต่อเนื่อง • เตรียมความพร้อม บริหารจัดการ ภาวะปกติ/ฉุกเฉิน • สื่อสาร สร้างความเข้าใจ

  19. การดำเนินงานของประเทศไทยการดำเนินงานของประเทศไทย • ประชุมผู้เชี่ยวชาญและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันประเมินสถานการณ์ • ส่งหนังสือขอความร่วมมือ จากสำนักสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัด และกระทรวงต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง • เตรียมความพร้อมทางห้องปฏิบัติการในการตรวจหาเชื้อ • ดำเนินการเฝ้าระวังโรค โดยได้กำหนดนิยามองค์การอนามัยโลก • ดำเนินการแจกบัตรคำเตือนสุขภาพ ให้แก่ผู้เดินทางจากต่างประเทศทุกคน และติดตามอย่างต่อเนื่อง • แนวทางด้านการวินิจฉัย รักษาพยาบาล และป้องกันการติดเชื้อในรพ.โรงพยาบาล • รายงานข้อมูลจาก “ศูนย์ข่าวกรองโรคติดติออุบัติใหม่แห่งชาติ” • สื่อสารความเสี่ยง ประชาสัมพันธ์

  20. “แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ.2556-2559)” “ประเทศไทย สามารถป้องกัน ควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของนานาชาติ โดยมีศักยภาพและความพร้อมของระบบบริหารจัดการ บุคลากร และการจัดการองค์ความรู้”

  21. “แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ.2556-2559)” ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน รักษาและควบคุมโรคภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการระบบการเลี้ยงและสุขภาพสัตว์ และสัตว์ป่าให้ปลอดโรค ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบจัดการความรู้ และส่งเสริมการวิจัยพัฒนา ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการเชิงบูรณาการและเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ความเสี่ยง

  22. การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ฯ สู่การปฏิบัติ

  23. คณะกรรมการอำนวยการเตรียมความพร้อมป้องกันคณะกรรมการอำนวยการเตรียมความพร้อมป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ รองนายกรัฐมนตรี (ประธาน) คณะอนุกรรมการยุทธศาตร์ที่ 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน รักษาและควบคุมโรคภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว คณะอนุกรรมการยุทธศาตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการเชิงบูรณาการและ เตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน คณะอนุกรรมการยุทธศาตร์ที่ 2 การจัดการระบบการเลี้ยงและสุขภาพสัตว์ และสัตว์ป่าให้ปลอดโรค คณะอนุกรรมการยุทธศาตร์ที่ 5 การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ ความเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ คณะอนุกรรมการยุทธศาตร์ที่ 3 พัฒนาระบบจัดการความรู้ และส่งเสริมการวิจัยพัฒนา คณะอนุกรรมการ ขับเคลื่อนแผนฯ คณะอนุกรรมการ เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพแห่งชาติ

  24. ตัวเรา • ครอบครัว • ชุมชน • หน่วยงาน • องค์กรปกครอง • ระดับประเทศ พึ่งตนเองได้ + ความยั่งยืน

  25. Mission Possible Mission Possible ขอบคุณครับ

More Related