1 / 142

Accounting II

Accounting II. Asst.Prof.Dr.Panchat Akarak p.thipnew1@hotmail.com School of Accounting Chiang Rai Rajabhat University. บทที่ 4. สินค้าคงเหลือ. หัวข้อสำคัญ สินค้าคงเหลือ. ความหมาย ( Definition ) องค์ประกอบสินค้าคงเหลือ ( Component of Inventory )

Download Presentation

Accounting II

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Accounting II Asst.Prof.Dr.Panchat Akarak p.thipnew1@hotmail.com School of Accounting Chiang Rai Rajabhat University

  2. บทที่ 4 สินค้าคงเหลือ

  3. หัวข้อสำคัญ สินค้าคงเหลือ • ความหมาย (Definition) • องค์ประกอบสินค้าคงเหลือ (Component of Inventory) • ราคาทุนสินค้าคงเหลือ (Cost of Inventory) • ระบบบัญชีสินค้าคงเหลือ (Inventory System) • วิธีการคำนวณราคาทุนสินค้าคงเหลือ (Inventory Cost Method) • การแสดงรายการสินค้าคงเหลือในงบการเงิน (Presentation and Disclosure) • บทฝึกหัดท้ายบท (Assignment)

  4. มาตรฐานการบัญชี ฉบับ 2 เรื่องสินค้าคงเหลือ Intermediate Accounting I

  5. ความหมาย (Definitions) สินค้าคงเหลือ (Inventory) หมายถึง สินทรัพย์หมุนเวียนของกิจการ ที่มีไว้เพื่อขายหรือใช้บริการ ผลิต

  6. ประเภทสินค้าคงเหลือตามลักษณะกิจการประเภทสินค้าคงเหลือตามลักษณะกิจการ ประเภทของสินค้าคงเหลือ 1. กิจการผลิตกรรม (Manufacturing Firm) สินค้าสำเร็จรูป Finished Goods สินค้าระหว่างผลิต Goods in Process วัตถุดิบ Raw Materials วัสดุโรงงาน/วัสดุสิ้นเปลือง Supplies 2. กิจการพาณิชยกรรม (Merchandising Firm) สินค้าสำเร็จรูป Finished Goods 3. กิจการบริการ (Service Firm) วัสดุสิ้นเปลือง/วัสดุสำนักงาน Supplies

  7. องค์ประกอบสินค้าคงเหลือ (Inventories) สินค้าคงเหลือ หมายถึง สินค้าที่วางขายหน้าร้านและสินค้าอยู่ในคลังสินค้า ทั้งนี้จะต้องพิจารณาเงื่อนไขอื่นประกอบด้วย

  8. องค์ประกอบสินค้าคงเหลือ (Inventories) • รายการที่ควรพิจารณาเป็นสินค้าคงเหลือ • สินค้าระหว่างทาง (Goodsin Transit) • สินค้าฝากขาย (Goods on Consignment) • สินค้าที่แยกไว้ต่างหาก(Segregated Goods) • สินค้าที่ขายโดยมีเงื่อนไข (ConditionalSales) • สินค้าที่ขายตามสัญญาผ่อนชำระ • (Installment Sales)

  9. องค์ประกอบสินค้าคงเหลือ (Inventories) • รายการที่ควรพิจารณาเป็นสินค้าคงเหลือ • สินค้าระหว่างทาง (Goodsin Transit) สินค้าอยู่ระหว่างทางให้ตรวจสอบเงื่อนไขการส่งมอบ -ส่งมอบต้นทาง (Free on Board Shipping point) ให้นับเป็นสินค้าคงเหลือของผู้ซื้อ -ส่งมอบปลายทาง (Free on Board Destination) ให้นับเป็นสินค้าคงเหลือของผู้ขาย

  10. องค์ประกอบสินค้าคงเหลือ (Inventories) รายการที่ควรพิจารณาเป็นสินค้าคงเหลือ 2. สินค้าฝากขาย (Goods on Consignment) สินค้าฝากขาย (Consigned Goods) 1) ผู้ฝากขาย (Consignor) เป็นเจ้าของสินค้า ต้องนับเป็นสินค้าคงเหลือ 2) ผู้รับฝากขาย (Consignee) เป็นผู้รับฝาก ไม่นับเป็นสินค้าคงเหลือ

  11. องค์ประกอบสินค้าคงเหลือ (Inventories) รายการที่ควรพิจารณาเป็นสินค้าคงเหลือ 3. สินค้าที่มีข้อตกลงรับซื้อคืน (Buyback Agreement) สินค้าที่มีข้อตกลงรับซื้อคืน (Buyback Agreement) ผู้ขายมีข้อตกลงระบุราคารับซื้อคืนและระยะเวลาในการซื้อคืน ถือเป็นการใช้สินค้าค้ำประกันการกู้ยืมเท่ากับราคาสินค้า ผู้ซื้อสินค้า เป็นผู้สนับสนุนการเงินแก่ผู้ขาย ความเสี่ยงในตัวสินค้ายังเป็นของ ผู้ขาย ดังนั้น ผู้ขายต้องนับเป็นสินค้าคงเหลือ

  12. องค์ประกอบสินค้าคงเหลือ (Inventories) รายการที่ควรพิจารณาเป็นสินค้าคงเหลือ 4. สินค้าที่ขายโดยมีเงื่อนไข (ConditionalSales) สินค้าที่มีอัตรารับคืนสูง (Sale with high rate of return) มีวิธีปฏิบัติ 2 วิธี คือ 1. บันทึกขายเต็มจำนวนและตั้งประมาณการรับคืน (ต้องประมาณการจำนวนและมูลค่าได้อย่างสมเหตุผล) 2. ไม่บันทึกขายจนกว่าจะพ้นกำหนดการรับคืนสินค้า

  13. องค์ประกอบสินค้าคงเหลือ (Inventories) รายการที่ควรพิจารณาเป็นสินค้าคงเหลือ 5. สินค้าที่ขายตามสัญญาผ่อนชำระ (Installment Sales) สินค้าขายผ่อนชำระหมายถึง สินค้าที่อยู่ในมือผู้ซื้อ แต่ผู้ซื้อยังชำระค่ะสินค้าไม่ครบ ให้นับเป็นสินค้าคงเหลือของผู้ซื้อ (ความเสี่ยงและผลตอบแทนเป็นของผู้ซื้อ)

  14. รายการที่ควรพิจารณาเป็นสินค้าคงเหลือรายการที่ควรพิจารณาเป็นสินค้าคงเหลือ 5. สินค้าที่ขายตามสัญญาผ่อนชำระ (Installment Sales) วิธีปฏิบัติที่นิยม ผู้ขายจะไม่โอนกรรมสิทธิ์ให้ผู้ซื้อ จนกว่าจะส่งเงินชำระครบ แต่หลักการบัญชีถือว่าสินค้าโอนจากบัญชีของผู้ขาย และสามารถประมาณอัตราหนี้สงสัยจะสูญได้อย่างสมเหตุผล อีกทั้งผู้ซื้อได้รับประโยชน์จากสินค้าแล้ว ดังนั้นผู้ขายไม่นับเป็นสินค้าคงเหลือ

  15. ราคาทุนสินค้าคงเหลือ (Cost of Inventory) เพื่อให้เป็นไปตามข้อสมมติขั้นพื้นฐานทางการบัญชีว่าด้วย หลักราคาทุน (Historical Costs) จะใช้หลักการบันทึกบัญชีราคาสินค้าคงเหลือด้วยราคาทุน

  16. ราคาทุนสินค้าคงเหลือ (Cost of Inventory) • กิจการพาณิชยกรรม • ราคาทุนของสินค้า (Inventory Costs) หมายถึงค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปเกี่ยวกับการจัดซื้อและการขนส่งสินค้า จนกระทั่งสินค้านั้นเข้ามาอยู่ในร้านพร้อมที่จะขายได้ • กิจการที่ผลิตกรรม • ราคาทุนของสินค้าจะได้แก่ • ต้นทุนในการซื้อวัตถุดิบ ค่าแรงงานทางตรง และค่าใช้จ่าย • ที่ใช้ในการผลิต หรือเรียกว่า “ต้นทุนผลิต”

  17. ระบบบัญชีสินค้าคงเหลือระบบบัญชีสินค้าคงเหลือ • ระบบบัญชีสินค้าคงเหลือมี 2 ระบบ คือ 1. ระบบบัญชีสินค้าแบบสิ้นงวด (Periodic Inventory System) 2. ระบบบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง (Perpetual Inventory System)

  18. ระบบบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง (Perpetual Inventory System) • ระบบนี้จะมีการบันทึกบัญชี เมื่อมีการซื้อ ขาย รับคืน ส่งคืนสินค้า รวมทั้งการได้รับส่วนลดระหว่างงวด ในบัญชีสินค้าคงเหลือ ทำให้บัญชีสินค้าคงเหลือแสดงยอดที่เป็นปัจจุบันเสมอ คอมพิวเตอร์มีส่วนช่วยงานในระบบบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่องได้มาก เพราะทำให้สามารถหาจำนวนคงเหลือของสินค้าได้ทันทีที่บันทึกบัญชีสินค้าที่เพิ่ม

  19. ระบบบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด (Periodic Inventory System) • ระบบนี้ไม่มีการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือเมื่อมีการซื้อ ขายระหว่างงวด แต่จะมีการบันทึกเพียงครั้งเดียวเมื่อปิดบัญชีเพื่อแสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีเท่านั้น มูลค่าสินค้าคงเหลือที่บันทึกคำนวณได้จากการตรวจนับสินค้าตัวจริง

  20. ระบบบัญชีสินค้าต่อเนื่องแบบผสม (Modified Perpetual System) • ระบบนี้ใช้วิธีบันทึกบัญชีสินค้าบันทึกบัญชีซื้อ เมื่อขายสินค้าบันทึกรายได้ค่าขายเท่านั้น ไม่บันทึกบัญชีต้นทุนขาย โดยเมื่อซื้อหรือขายสินค้าจะบันทึกรายการเพิ่มเพื่อลดปริมาณสินค้า เข้า ออก และคงเหลือ ไว้ที่บัญชีย่อยหรือบัตรรายละเอียดสินค้าโดยไม่ต้องแสดงมูลค่าสินค้า เป็นเพียงการบันทึกเพื่อให้ทราบปริมาณสินค้าคงเหลือ ณ เวลาต่างๆ Intermediate Accounting I

  21. ระบบบัญชีสินค้า Inventory Cost Method

  22. ระบบบัญชีสินค้า Inventory Cost Method

  23. ระบบบัญชีสินค้าInventory Cost Method

  24. บัญชีแยกประเภทสินค้า-Perpetualบัญชีแยกประเภทสินค้า-Perpetual สินค้าคงเหลือ No.15 สินค้าคงเหลือยกมา 0 ส่งคืน 100 ซื้อสินค้า 1,000 ส่วนลดรับ 100 ขาย 1,000 ค่าใช้จ่าย(ขนส่ง) 200 รับคืน 100 1,200 1,300 100

  25. บัญชีแยกประเภทต้นทุนขาย-Perpetualบัญชีแยกประเภทต้นทุนขาย-Perpetual ต้นทุนขาย No.51 ขายสินค้า 1,000 รับคืน 100 900

  26. การคำนวณสินค้าคงเหลือ-Periodicการคำนวณสินค้าคงเหลือ-Periodic ต้นทุนขายและสินค้าที่มีเพื่อขาย สินค้าคงเหลือยกมาต้นงวด 0 บวก ซื้อสินค้า-สุทธิ ซื้อสินค้า 1,000 บวก ค่าขนส่งเข้า 2,00 รวม 1,200 หัก ส่งคืนสินค้า1,00 ส่วนลดรับ 1002001,000 สินค้ามีเพื่อขาย 1,000 หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด-ตรวจนับตีราคา 100 ต้นทุนสินค้าขาย 900

  27. การตีราคาสินค้าคงเหลือตามราคาทุนการตีราคาสินค้าคงเหลือตามราคาทุน การตีราคาสินค้าคงเหลือตามราคาทุนมีหลายวิธีที่นิยมใช้ มีดังนี้ 1. วิธีคิดตามราคาทุนที่ระบุเฉพาะ (Specific identification) 2. วิธีถัวเฉลี่ย (Average method) 2.1 วิธีถัวเฉลี่ยแบบง่าย (Simple Average) 2.2 วิธีถัวเฉลี่ยน้ำหนัก (Weighted Average) 2.3 วิธีถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving Average) 3. วิธีเข้าก่อนออกก่อน (First in-First out: FIFO) 4. วิธีเข้าหลังออกก่อน (Last in-First out: LIFO)(ยกเลิกใช้)

  28. ทำไม ต้องมีการตีราคาสินค้าคงเหลือ

  29. ทำไมต้องตีราคาสินค้าคงเหลือทำไมต้องตีราคาสินค้าคงเหลือ • ทำให้ทราบต้นทุนสินค้าคงเหลือ เพื่อนำไป (สินทรัพย์) แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน • ทำให้ทราบต้นทุนขาย- ค่าใช้จ่าย เพื่อนำไปแสดงในงบกำไรขาดทุนฯ • ผลกระทบถ้าคำนวณบัญชีผิดพลาด ทำให้สินทรัพย์สูงไป/ต่ำไป และกำไรสุทธิสูงไป/ต่ำไป

  30. ซื้อสินค้ามา 5 ชิ้น ขายสินค้าไป 3 ชิ้น @ 2 คำถาม @ 3 @ 4 สินค้าเหลือกี่ชิ้น กี่บาท @ 3 @ 4

  31. ซื้อสินค้ามา 5 ชิ้น ขายสินค้าไป 3 ชิ้น @ 2 ตอบ 2 ชิ้น @ 3 @ 4 @ 2 = 5 บาท  @ 3 @ 3 @ 4

  32. ซื้อสินค้ามา 5 ชิ้น ขายสินค้าไป 3 ชิ้น @ 2 ตอบ 2 ชิ้น @ 3 @ 4 @ 2 = 6 บาท  @ 3 @ 4 @ 4

  33. ซื้อสินค้ามา 5 ชิ้น ขายสินค้าไป 3 ชิ้น @ 2 ตอบ 2 ชิ้น @ 3 @ 4 @ 3 = 7 บาท  @ 3 @ 4 @ 4

  34. ซื้อสินค้ามา 5 ชิ้น ขายสินค้าไป 3 ชิ้น @ 2 ตอบ 2 ชิ้น @ 3 @ 4 @ 4 = 8 บาท  @ 3 @ 4 @ 4

  35. หลักในการคิดการ ตีราคาสินค้าคงเหลือ

  36. หา ซื้อสินค้ามา 5 ชิ้น ขายสินค้าไป 3 ชิ้น @ 2 1. ต้นทุนซื้อสินค้า กี่ชิ้น กี่บาท @ 3 2. ขายไปกี่ชิ้น กี่บาท @ 4 3. เหลือกี่ชิ้น กี่บาท @ 3 4. 2 + 3 = 1 @ 4

  37. ซื้อสินค้ามา 5 ชิ้น ขายสินค้าไป 3 ชิ้น @ 2 @ 2 16 บาท 1. ต้นทุนซื้อสินค้า @ 3 @ 3 9 บาท 2. ขายไปกี่ชิ้น @ 4 @ 4 7 บาท 3. เหลือกี่ชิ้น @ 3 @ 3 4. 2 + 3 = 1 16 บาท @ 4 @ 4

  38. ซื้อสินค้ามา 5 ชิ้น ขายสินค้าไป 3 ชิ้น @ 2 @ 2 16 บาท 1. ต้นทุนซื้อสินค้า @ 3 @ 3 10 บาท 2. ขายไปกี่ชิ้น @ 4 @ 4 6 บาท 3. เหลือกี่ชิ้น @ 3 @ 3 4. 2 + 3 = 1 16 บาท @ 4 @ 4

  39. ซื้อสินค้ามา 5 ชิ้น ขายสินค้าไป 3 ชิ้น @ 2 @ 2 16 บาท 1. ต้นทุนซื้อสินค้า @ 3 @ 3 8 บาท 2. ขายไปกี่ชิ้น @ 4 @ 4 8 บาท 3. เหลือกี่ชิ้น @ 3 @ 3 4. 2 + 3 = 1 16 บาท @ 4 @ 4

  40. ซื้อสินค้ามา 5 ชิ้น ขายสินค้าไป 3 ชิ้น @ 2 @ 2 16 บาท 1. ต้นทุนซื้อสินค้า @ 3 @ 3 9 บาท 2. ขายไปกี่ชิ้น @ 4 @ 4 7 บาท 3. เหลือกี่ชิ้น @ 3 @ 3 จากตัวอย่าง @ 4 @ 4

  41. มูลค่าต้นทุนขาย 9 บาท 2. ขายไปกี่ชิ้น 7 บาท 3. เหลือกี่ชิ้น มูลค่าสินค้าคงเหลือ

  42. สินค้ามีไว้เพื่อขาย ลบ (-) สินค้าคงเหลือ เท่ากับ (=) ต้นทุนสินค้าขาย

  43. ตัวอย่าง บริษัทกอบพลสรรพสินค้า จำกัด มีข้อมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อ และขายสินค้าชนิดหนึ่งในระหว่างเดือน มกราคม 25x0 ดังต่อไปนี้ วันที่ ปริมาณซื้อ ต้นทุนต่อหน่วย ปริมาณขาย (หน่วย) (บาท) (หน่วย) 1 ม.ค. (ยกมา) 5,000 2 7 ม.ค. (ซื้อ 1) 6,000 3 4,000 9 ม.ค. (ขาย 1) 15 ม.ค. (ขาย 2) 6,000 21 ม.ค. (ซื้อ 3) 7,000 4 25 ม.ค. (ซื้อ 4) 8,000 5 30 ม.ค. (ขาย 3) 8,000

  44. ก่อนจัดทำ คำนวณหาข้อมูล ดังนี้

  45. ตัวอย่าง บริษัทกอบพลสรรพสินค้า จำกัด มีข้อมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อ และขายสินค้าชนิดหนึ่งในระหว่างเดือน มกราคม 25x0 ดังต่อไปนี้ วันที่ ปริมาณซื้อ ต้นทุนต่อหน่วย ปริมาณขาย (หน่วย) (บาท) (หน่วย) 1 ม.ค. (ยกมา) 5,000 2 7 ม.ค. (ซื้อ 1) 6,000 3 21 ม.ค. (ซื้อ 3) 7,000 4 25 ม.ค. (ซื้อ 4) 8,000 5 26,000 หน่วยสินค้ามีไว้เพื่อขาย

  46. ตัวอย่าง บริษัทกอบพลสรรพสินค้า จำกัด มีข้อมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อ และขายสินค้าชนิดหนึ่งในระหว่างเดือน มกราคม 25x0 ดังต่อไปนี้ วันที่ ปริมาณซื้อ ต้นทุนต่อหน่วย ปริมาณขาย (หน่วย) (บาท) (หน่วย) 4,000 9 ม.ค. (ขาย) 15 ม.ค. (ขาย) 6,000 30 ม.ค. (ขาย) 8,000 18,000 หน่วยขาย

  47. ตัวอย่าง บริษัทกอบพลสรรพสินค้า จำกัด มีข้อมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อ และขายสินค้าชนิดหนึ่งในระหว่างเดือน มกราคม 25x0 ดังต่อไปนี้ 26,000 หน่วย หน่วยสินค้ามีไว้เพื่อขาย 18,000 หน่วย หน่วยขาย หน่วยสินค้าคงเหลือ 8,000 หน่วย

  48. ตัวอย่าง บริษัทกอบพลสรรพสินค้า จำกัด มีข้อมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อ และขายสินค้าชนิดหนึ่งในระหว่างเดือน มกราคม 25x0 ดังต่อไปนี้ วันที่ ปริมาณซื้อ ต้นทุนต่อหน่วย (หน่วย) (บาท) ต้นทุนสินค้าที่ซื้อ (บาท) 10,000 X 1 ม.ค. (ยกมา) 5,000 2 18,000 X 7 ม.ค. (ซื้อ 1) 6,000 3 28,000 X 21 ม.ค. (ซื้อ 3) 7,000 4 40,000 X 25 ม.ค. (ซื้อ 4) 8,000 5 96,000 มูลค่าสินค้ามีไว้เพื่อขาย

  49. 1. วิธีคิดตามราคาทุนที่ระบุเฉพาะ (Specific Identification of Cost Method) วิธีนี้โดยปกติจะนำมาใช้ในกิจการที่จำหน่ายสินค้าชิ้นใหญ่มีจำนวนไม่มากและมีราคาแพง เช่น กิจการขายรถยนต์ เครื่องจักรกล เป็นต้น

  50. 1. วิธีคิดตามราคาทุนที่ระบุเฉพาะ(ต่อ) จากโจทย์ สมมติว่า ระบุเฉพาะเจาะจง สินค้ามีเพื่อขาย ขาย คงเหลือ 1.ยกมา 5,000 หน่วย 5,000 หน่วย -0- หน่วย 2.ซื้อ 7 ม.ค. 6,000 หน่วย 3,000 หน่วย 3,000 หน่วย 3.ซื้อ 21 ม.ค. 7,000 หน่วย 5,000 หน่วย 2,000 หน่วย 4.ซื้อ 25 ม.ค. 8,000 หน่วย 5,000 หน่วย 3,000 หน่วย 28,000 หน่วย 18,000 หน่วย 8,000 หน่วย รวม

More Related