1 / 15

โรคต้นและใบแห้ง (Phytophthora blight )

โรคต้นและใบแห้ง (Phytophthora blight ). นายมูฮำหมัดซาหารี สะแลแม รหัสประจำตัว 404652024 โปรแกรมชีววิทยาประยุกต์(จุลชีววิทยา) คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ความหมายโรค. การที่พืชมีความผิดปกติทางด้านสรีระ

penha
Download Presentation

โรคต้นและใบแห้ง (Phytophthora blight )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคต้นและใบแห้ง (Phytophthora blight) นายมูฮำหมัดซาหารี สะแลแม รหัสประจำตัว 404652024 โปรแกรมชีววิทยาประยุกต์(จุลชีววิทยา) คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

  2. ความหมายโรค • การที่พืชมีความผิดปกติทางด้านสรีระ • พืชมีโครงสร้างทางสัณฐานเปลี่ยนแปลงไปโดยพืชจะแสดงอาการ(symptom)ให้เห็นความผิดปกตินั้นทำให้เกิดความเสียหาย • อาการผิดปกติมีผลทำให้คุณค่าทางเศรษฐกิจของผลลดลงก็ถือว่าเป็นโรคพืช • เช่นราดำ(Sooty mold)ที่เกาะอยู่ตามผิวใบพืชและผิวของผลไม้

  3. สาเหตุโรค(causingagents) • โรคพืชติดเชื้อหรือโรคระบาด(Infectious diseases) ‣ เชื้อรา ‣ เชื้อแบคทีเรีย ‣ ไส้เดือนฝอยศัตรูพืช ‣ เชื้อไฟโตพลาสมา

  4. สาเหตุโรคพืช(causingagents)(ต่อ)สาเหตุโรคพืช(causingagents)(ต่อ) • โรคพืชที่เกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต • การขาดแร่ธาตุอาหารในพืช • ขาดธาตุไนโตรเจน • ขาดธาตุฟอสฟอรัส • ขาดธาตุโพแทสเซียม • ขาดธาตุแมกนีเซียม • ขาดธาตุแคลเซียม • ขาดธาตุโบรอน • ขาดธาตุกำมะถัน • ขาดธาตุกำมะถัน • ขาดธาตุเหล็ก • ขาดธาตุสังกะสี

  5. โรคต้นและใบแห้ง(Phytophthora blight) • เกิดจากเชื้อ phytophthora • ลักษณะอาการของโรค • ผลพริก - แผลจุดช้ำยุบตัวลงมีเส้นใยสีขาวปกคลุมมีจุดสีเหลืองส้มหรือน้ำตาล • ยอด - แห้งตาย • ราก–เน่า • ใบ - จุดช้ำๆเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลหดย่นมีเส้นใยสีขาวปกคลุม • สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเกิดโรค • ฝนตกชุกมีน้ำค้างจัด • การแพร่ระบาด • แพร่โดยลมน้ำเมล็ดเครื่องมือและสิ่งเคลื่อนไหวอื่นๆ • อยู่ข้ามฤดูในเศษซากพืชที่เป็นโรค

  6. การป้องกันกำจัดโรค • การใช้เชื้อราเพื่อลดปัญหาโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา • ใช้เชื้อ Trichoderma isolate T-15 คลุกเมล็ดหัวหอมใหญ่แล้วปลูกสามารถ ลดการเป็นโรคกล้าเน่า • ใช้เชื้อ Trichoderma ในการป้องกันกำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อ Sclerotium roffsii ในข้าวโพด • ใช้คลุกกับเมล็ดถั่วสามารถป้องกันกำจัดโรค Southernblight ของถั่วลิสง • ใส่เชื้อปลูกลงในดินสามารถป้องกันโรคเน่าคอดินของมะเขือเทศ

  7. ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต • ภูมิอากาศ • ปลูกกันทั่วไปทั้งในเขตร้อนและเขตกึ่งร้อนขึ้นได้ตั้งแต่พื้นที่ระดับน้ำทะเลไปจนถึงระดับความสูง 2000 เมตรอุณหภูมิตั้งแต่ 20-25 องศาเซลเซียสเป็นอุณหภูมิที่เหมาะที่สุด • ภูมิอากาศร้อนชื้นจะส่งเสริมต่อการเจริญเติบโตในขณะที่อากาศแห้งจะส่งเสริมการแก่ของผลเร็วขึ้น • พืชที่ปลูกโดยอาศัยน้ำฝนจะขึ้นได้ดีต้องปริมาณน้ำฝน 25-50 นิ้ว

  8. ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต(ต่อ)ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต(ต่อ) • สภาพของภูมิอากาศไม่เหมาะสม • การขาดน้ำหรือมีน้ำอยู่มากเกินไป • ความแห้งแล้งของอากาศจะมีอาการใบเหลืองใบมีสีม่วงใบเหี่ยวย่นและตายอย่างรวดเร็วและใบไหม้ระหว่างเส้นใบและตามขอบใบ • อุณหภูมิที่สูงหรือต่ำเกินไป • การปฏิบัติทางการเกษตรที่ไม่เหมาะสม • การใช้สารเคมีเพื่อการเกษตรต่างๆ • การมีธาตุอาหารมากเกินไป • การมีธาตุโบรอน (B) มากเกินไปทำให้พืชเกิดอาการใบเหลือง

  9. ปัจจัยที่ทำให้พืชเป็นโรคและระบาดอย่างรุนแรงปัจจัยที่ทำให้พืชเป็นโรคและระบาดอย่างรุนแรง • พันธุ์พืช: พืชที่ปลูกมีความอ่อนแอต่อการเข้าทำลายของเชื้อโรค • เชื้อสาเหตุ : เชื้อสาเหตุมีความสามารถที่จะเข้าทำลายพืชนั้น • สภาพแวดล้อม : สภาพแวดล้อมมีความเหมาะสมที่จะทำให้เกิดโรค • พาหะเชื้อโรคต่างๆ : เช่นแมลงและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ

  10. ความสำคัญของรา • ย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ให้อยู่ในรูปที่ง่าย • ช่วยทำให้ดินสมบูรณ์ขึ้นมีธาตุอาหารมากขึ้น • ช่วยในอุตสาหกรรม • ใช้ประโยชน์ในการศึกษาทางวิทยาศาสตร์

  11. สมบัติของเชื้อรา • เชื้อราส่วนใหญ่มีการดำรงชีพทั้งที่เป็นอิสระหรือแซปโปรไฟต์ • เชื้อราเป็นจุลินทรีย์ที่เลี้ยงง่าย • เชื้อราเป็นยูคาริโอตชั้นต่ำที่เจริญค่อนข้างเร็ว • เชื้อราสามารถเจริญได้โดยไม่ต้องปรับสภาพแวดล้อมพิเศษใดๆ • เชื้อรากระจายพันธุ์โดยการสร้างสปอร์ทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ

  12. การจัดจำแนกหมวดหมู่ราการจัดจำแนกหมวดหมู่รา • ลำดับการจัดหมวดหมู่รา • จัดราไว้ใน Kingdome Fungi • ดีวิชั่นคือ divition Myxomycota และ divition Eumycota • ราชั้นต่ำราใน subdivition Mastigomycotina และ Zygomycotina • ราชั้นสูงราใน subdivition Deuteromycotina , Ascomycotina และ Basidiomycotina

  13. เชื้อรา Phytophthora • สัณฐานวิทยา • เส้นใยของเชื้อราPhytophthoraไม่มี septum กั้นแตกกิ่งก้านเป็นมุมฉาก • มักมีรูปร่าง pear-shaped เกิดอยู่บนก้าน sporangiopore • อนุกรมวิธาน • Phycomycetes เป็นคลาสของเชื้อราชั้นต่ำที่มีการสร้างสปอร์แบบไม่อาศัยเพศที่เรียกว่าสปอแรงจิโอสปอร์ • วัฏจักรชีวิตในเชื้อรา • โครงสร้างเป็นดิพลอยด์ ยกเว้นเซลล์สืบพันธุ์ (gametes) โครงสร้าง (gametangail phase) เป็นแฮพลอยด์

  14. เชื้อรา Phytophthora(ต่อ) • การสืบพันธุ์ ระบบการผสมพันธ์ที่มีสองเพศต่างกัน • สร้าง fertilization tube แทงผ่านหนัง oogonium สู่ oospher • ผสมแบบ hybrid oospore ที่ต่าง strain

  15. จบการนำเสนอ ขอบคุณทุกท่านที่รับฟัง

More Related