1 / 50

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมกับ โรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น

พฤติกรรมทำลายสุขภาพ ( เหล้า, บุหรี่ และ แนวทางลดอุบัติเหตุ ) ประกิต วาทรสาธกกิจ อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมกับ โรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น ประชุมวิชาการ ครั้งที่ 21 ประจำปี 2548 เรื่อง “ HEALTHY THAILAND : เมืองไทยแข็งแรง”

paulos
Download Presentation

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมกับ โรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พฤติกรรมทำลายสุขภาพ( เหล้า, บุหรี่ และ แนวทางลดอุบัติเหตุ )ประกิต วาทรสาธกกิจ อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมกับ โรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น ประชุมวิชาการ ครั้งที่ 21 ประจำปี 2548 เรื่อง “HEALTHY THAILAND : เมืองไทยแข็งแรง” (COMMON PROBLEMS IN I-SAN AND UPDATE MANAGEMENT) วันอังคาร ที่ 11 ตุลาคม 2548 ณ ห้องบรรยาย 3 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. สถานการณ์การบริโภคผลกระทบ และการควบคุมการบริโภคสุราในประเทศไทย

  3. สถานการณ์ การบริโภคแอลกอฮอล์ ของสังคมไทย

  4. สถานการณ์การบริโภคแอลกอฮอล์ของสังคมไทยสถานการณ์การบริโภคแอลกอฮอล์ของสังคมไทย • ปรับเป็นปริมาณแอลกอฮอลล์บริสุทธิ์โดยประมาณ เบียร์ ไวน์ และสุรากลั่นมี แอลกอฮอลล์บริสุทธิ์เท่ากับ 4.5%, 14% และ 42% ตามลำดับ • จากฐานข้อมูล WHO-alcohol consumption database

  5. อันดับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประเทศไทยอันดับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประเทศไทย

  6. ปริมาณจำหน่ายสุราในประเทศปริมาณจำหน่ายสุราในประเทศ

  7. ดื่มเพิ่ม 3 เท่า ภายใน 14 ปี สถานการณ์การบริโภคแอลกอฮอล์ของสังคมไทย คนไทยดื่มแอลกอฮอล์ เพิ่มขึ้น 3 เท่า ภายใน 14 ปี จาก 20.2 ลิตร เป็น 58.0 ลิตร / คน / ปี *ข้อมูลแอลกอฮอล์ทุกประเภทจากกรมสรรพสามิต

  8. ศึกษาบูรณาการ ร้อยละของประชากรอายุ 12-65 ปีที่ดื่มแอลกอฮอล์ ในระดับพื้นที่ สุรา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มา : ประมาณการผู้ดื่มแอลกอฮอล์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2546

  9. ศึกษาบูรณาการ แนวโน้มการเริ่มใช้เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ในระดับพื้นที่ สุรา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มา : ประมาณการผู้ดื่มแอลกอฮอล์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2546

  10. สถานการณ์การบริโภคแอลกอฮอล์ของสังคมไทยสถานการณ์การบริโภคแอลกอฮอล์ของสังคมไทย กลุ่มผู้บริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใหญ่ที่สุด ได้แก่ กลุ่มผู้ชาย อายุ 25-44 ปี จำนวน 7.84 ล้านคน

  11. สถานการณ์การบริโภคแอลกอฮอล์ของสังคมไทยสถานการณ์การบริโภคแอลกอฮอล์ของสังคมไทย สถานการณ์ปัญหาในกลุ่มเยาวชน • เยาวชนอายุ 15-19 ปี ร้อยละ 46.9 เริ่มลองดื่มสุราแล้ว • เยาวชนดื่มเป็นอันดับที่ 2 รองจากวัยทำงาน • ร้อยละ 76.4 ของผู้ดื่มสุรา เริ่มดื่มก่อนอายุ 24 ปี • วัยรุ่นหญิงดื่มเพิ่มขึ้น 6 เท่า ใน 7 ปี (2539 - 2546) • อายุของการเริ่มดื่มลดต่ำลงอย่างต่อเนื่อง

  12. ผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์

  13. ลักษณะการดื่ม ปริมาณการดื่ม การเมาสุรา การติดสุรา พิษจากแอลกอฮอล์ ปัญหาสังคม ปัญหาสังคม โรคเรื้อรัง อุบัติเหตุ / บาดเจ็บ ระยะสั้น ระยะยาว ความสัมพันธ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ผลต่อผู้บริโภคโดยตรงและผลกระทบที่เกิดขึ้น Babor T, Caetano R, Casswell S, et al. 2003

  14. อุบัติเหตุที่มาจากสาเหตุการดื่มแอลกอฮอล์อุบัติเหตุที่มาจากสาเหตุการดื่มแอลกอฮอล์ สถานการณ์ปี 2546 มีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ 12,860 คน มีผู้บาดเจ็บ 68,326 คน สูญเสียทางเศรษฐกิจกว่า 120,000 ล้านบาท** 48% ของผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ มีสาเหตุจากการเมา* * ข้อมูลสถิติระบาดวิทยาปี 2546 ** ข้อมูลปี 2547

  15. สถานการณ์ปี 2547 ร้อยละ 72.7 ของผู้บาดเจ็บรุนแรงจำนวน 1,405 คนจากพาหนะทุกประเภทดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ก่อนเกิดเหตุ • โดยร้อยละ 44.2 ของผู้บาดเจ็บรุนแรงมีอายุต่ำกว่า 18 ปีและดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ก่อนเกิดเหตุ อุบัติเหตุที่มาจากสาเหตุการดื่มแอลกอฮอล์

  16. การดื่มสุราแล้วขับรถ เพิ่มความเสี่ยงต่อ: การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจร 6.6 เท่า การเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจร 9.6 เท่า ถ้าลดจำนวนผู้ขับขี่เจือสุราลงครึ่งหนึ่ง จะป้องกันการเสียชีวิตได้ปีละ 2,922 คน ป้องกันการบาดเจ็บได้ปีละ 29,625 คน คิดเป็นผลได้ทางเศรษฐกิจ 13,976 ล้านบาท *ข้อมูลจาก “เส้นทางอุบัติ… แห่งอุบัติเหตุ”

  17. ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวที่เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวที่เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ ร้อยละของแม่บ้านถูกกระทำรุนแรง ปัญหาสังคมที่ตามมา * ผลวิจัยเอแบคโพลล์: ผลสำรวจความรุนแรงในครอบครัว ก.ค.ปี 2547

  18. โทษและผลเสียจากการดื่มสุราโทษและผลเสียจากการดื่มสุรา

  19. ทำไมคนไทย ถึงบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพิ่มขึ้นทุกปี ?

  20. การซื้อสุราเป็นเรื่องที่สะดวกมาก*การซื้อสุราเป็นเรื่องที่สะดวกมาก* ร้านอยู่ใกล้บ้าน เฉลี่ยผู้ซื้อใช้เวลาเพียง 7.5 นาที การเดินทางไปดื่มสุราที่ร้านอาหารหรือร้านจำหน่ายสุรา ใช้เวลาเฉลี่ย 18.4 นาที ถ้าเวลาไปซื้อกลับมาดื่มที่บ้านเพิ่ม 10 นาที จะลดการดื่มลง 0.3 ครั้ง/เดือน (จาก 7 ครั้ง/เดือน) กรมสรรพสามิตอำนวยความสะดวกให้กับผู้ผลิตและผู้ขายปลีกด้วยบริการแบบ One Stop Service รายได้-ราคาสุรา การโฆษณา ปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มอุปสงค์ *นิพนธ์ พัวพงศกร (2548)

  21. พลัง ปัญญา พลัง ปัญญา พลัง นโยบาย พลัง นโยบาย สสส. สสส. พลัง สังคม พลัง สังคม ยุทธศาสตร์ - ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา - โครงการวิจัยต่างๆ - คณะกรรมการควบคุมการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์แห่งชาติ (คบอช.) - ศูนย์เฝ้าระวังและบังคับใช้กฏหมาย - กระบวนการนโยบายสาธารณะ เครือข่ายองค์กรงดเหล้า ภาคีรณรงค์ต่างๆ สื่อสารมวลชน

  22. สถานการณ์การควบคุมแอลกอฮอล์ในไทยสถานการณ์การควบคุมแอลกอฮอล์ในไทย • ก่อน 2546 มีเพียงองค์กรเอกชนไม่กี่แห่งรณรงค์ลดเหล้าและเมาไม่ขับ • 2546 สสส. และภาคีเริ่มการประมวลองค์ความรู้ และก่อขบวนเครือข่ายองค์กรงดเหล้า ผลักดัน มติ ครม. จำกัดเวลาโฆษณา และตั้งคณะกรรมการควบคุมการบริโภคแอลกอฮอล์แห่งชาติ (คบอช), การรณรงค์งดเหล้าเข้าพรรษา • 2547 เกิดกลไกการทำงานด้านต่างๆ เช่น สำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา เกิดโครงการรณรงค์ในเทศกาล และในกลุ่มเฉพาะต่างๆ ฯ

  23. สถานการณ์ในประเทศไทย • 2548 ศูนย์เฝ้าระวังการบังคับใช้กฎหมายฯ การผลักดันนโยบายรับน้องปลอดเหล้า วัดปลอดเหล้า การประชุมวิชาการสุราแห่งชาติฯ • อัตราเพิ่มของการดื่มสุราลดลง ภาษีสรรพสามิตเก็บได้ต่ำกว่าเป้า • ยังต้องการการพัฒนาต่อในทุกๆด้าน • ยังขาดการเชื่อมประสานกับเครือข่ายสากล

  24. เป้าหมายผลสัมฤทธิ์การป้องกันแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป้าหมายผลสัมฤทธิ์การป้องกันแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หลักการป้องกันแก้ไข ป้องกันการบริโภค ป้องกันอันตราย ลดอันตราย ลดอันตราย ไม่ดื่ม ดื่มพอควร ต่อผู้บริโภค ต่อผู้อื่น ไม่ดื่มเลย ดื่มตามมรรยาท ลดปริมาณบริโภค ยุติพฤติกรรม รุนแรงในครอบครัว ใส่หมวก/ ลองดื่มแล้วเลิก ยุติดื่มก่อนมึน ยุติพฤติกรรม เข็มขัดนิรภัย รุนแรงในสังคม เคยดื่มแล้วเลิก ดื่มเท่าที่จำเป็น เมาไม่ขับ เมาไม่ขับ ตามประเพณี รักษาโรคที่เกี่ยวกับ การบริโภคเครื่องดื่มฯ

  25. ยุทธศาสตร์การป้องกันแก้ไขอุปทานเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ยุทธศาสตร์การป้องกันแก้ไขอุปทานเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อุตสาหกรรมผลิตเครื่องดื่มฯ ระบบผลิต และการตลาด เวลาจำหน่าย จุดจำหน่าย รัฐ - เอกชน การบรรจุ ราคา มาตรการ มาตรการ ชุมชน / เพิ่มความแพร่หลาย กฏหมาย สังคม ความสะดวก ค่านิยม ความรู้ วัฒนธรรม โอกาส สังคม ซื้อ มาตรการ มาตรการ สารสนเทศ / ชุมชน / เพิ่มการบริโภค การศึกษา สังคม

  26. ประสิทธิผลของมาตรการต่างๆในประสบการณ์ ตปท.

  27. การควบคุมการเข้าถึงและการหาซื้อ (Regulating the Physical Availability) • การกำหนดอายุขั้นต่ำที่สามารถซื้อได้ +++ • การผูกขาดการขายปลีกโดยรัฐ +++ • การจำกัดชั่วโมงและเวลาการขาย ++ • การจำกัดความหนาแน่นของร้านจำหน่าย ++ • ความรับผิดชอบทางกฎหมายของผู้ให้บริการ +++

  28. ประมวลนโยบายและมาตรการทางกฎหมายในประเทศไทยประมวลนโยบายและมาตรการทางกฎหมายในประเทศไทย

  29. นโยบาย หรือ มาตรการ นโยบาย หรือ มาตรการในประเทศไทย การควบคุมการเข้าถึง และการหาซื้อ -ขายได้เฉพาะเวลา 11-14 น. และ 17-24 น. -ห้ามจำหน่ายอายุต่ำกว่า 18 ปี, ห้ามไม่ให้เด็กเสพสุราหรือบุหรี่ ห้ามเข้าสถานที่ขายฯ -ห้ามจำหน่ายในสถานศึกษา และศาสนสถาน ภาษีและการกำหนดราคา -เป็นไปเพื่อหารายได้เข้ารัฐ ยังไม่ได้เป็นเพื่อลดการบริโภค การปรับเปลี่ยนบริบทการดื่ม -ห้ามจำหน่ายสุราแก่ผู้เมามายหรือยอมให้ผู้เมามายอยู่ในสถานบริการ การควบคุมการส่งเสริมการขาย -ห้ามการโฆษณาทางสื่อสิ่งพิมพ์และป้ายกลางแจ้งต้องมีคำเตือน และห้ามอยู่ใกล้สถานศึกษาทุกระดับในรัศมี 500 เมตร -ห้ามโฆษณาทาง TV/วิทยุ เวลา 05-22 น. หลังจากนั้นโฆษณาได้เฉพาะภาพลักษณ์เท่านั้น มาตรการควบคุมผู้ดื่มแล้วขับ -ห้ามขับขี่ขณะเมาสุรา (จำคุก < 3 เดือน, ปรับ 2,000-10,000บาท) -ประพฤติวุ่นวายหรือครองสติไม่ได้ในถนนหรือสาธารณสถาน ปรับ < 500 บาท -มาตรการสุ่มตรวจระดับแอลกอฮอล์ของผู้ขับขี่ยานพาหนะ การให้การศึกษาและการรณรงค์โน้มน้าว -ต้องติดฉลากคำเตือน (ประกาศกระทรวงสาธารณสุข, 2546) -วันเครอบครัวแข็งแรงทุกวันอาทิตย์ (มติ ค.ร.ม. 27ก.ค.2547) -รณรงค์งดเหล้าเข้าพรรษา, รณรงค์เมาไม่ขับ

  30. การสูญเสียจากการบริโภคการสูญเสียจากการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อาจจะมีมากกว่าที่ท่านคิด

  31. ชะตากรรม ของผู้ที่รับผล จากผู้เมาสุรา

  32. เธอและพ่อของเธอ ในปี คศ.1998.

  33. เธอขณะที่ไปพักผ่อนที่ Venezuela.

  34. ในวันเกิดขณะที่เป็นเด็ก

  35. เธอ ขณะที่สนุกสนาน สดใส ร่าเริง อยู่กับเพื่อนๆ

  36. สภาพรถของเธอที่เป็นผลจากการถูกชนโดยนักศึกษาชายผู้หนึ่งที่เมาสุรา ในเดือนธันวาคม ปี1999.

  37. Jacquelineถูกไฟครอกอย่างรุนแรงเป็นเวลาประมาณ45 วินาที

  38. หลังเกิดเหตุ เธอต้องได้รับการผ่าตัดมากกว่า 40 ครั้ง

  39. เธอขณะได้รับการรักษา

  40. เนื่องจากหนังตาข้างซ้ายถูกเผาไหม้ไปหมดJacqieจำเป็นต้องใช้ยาหยอดตาเพื่อรักษาดวงตาเนื่องจากหนังตาข้างซ้ายถูกเผาไหม้ไปหมดJacqieจำเป็นต้องใช้ยาหยอดตาเพื่อรักษาดวงตา

  41. กับพ่อของเธอ ในปี 2000

  42. 3 เดือน หลังเกิดเหตุ

  43. “น้ำตาลูกผู้ชาย” ผู้ซึ่งขับรถชนรถของเธอ ซึ่งเขายอมรับอย่างลูกผู้ชายว่า เขาจะไม่ให้อภัยตัวเองเลยที่ได้ทำลายชีวิตอันสดใสทั้งชีวิตของเธอ ด้วยการเมาสุราแล้วขับรถเมื่อ 3 ปีก่อน

  44. “ไม่ใช่ทุกคนที่ถูกรถชนแล้วเสียชีวิต”รูปนี้ถ่ายหลังเกิดเหตุ 4 ปี

More Related