1 / 34

วัตถุประสงค์และความคาดหวัง

วัตถุประสงค์และความคาดหวัง. สิ่งที่อยากจะได้กลับไปในครั้งนี้คืออะไร ?. แรงใจ. ฝึกทักษะ. ข้อคิด. ความรู้. แนวทาง. สนุก. ผ่อนคลาย. สบาย. ครั้งที่ ๔. ครั้งที่ ๓. ครั้งที่ ๒. ครั้งที่ ๑. ใจ ความรู้ ความสามารถ / ความสำเร็จของงาน + ชีวิต. บ้านผู้หว่าน (๑๕-๑๗ ก.ย.๕๑). ความรู้.

Download Presentation

วัตถุประสงค์และความคาดหวัง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วัตถุประสงค์และความคาดหวัง สิ่งที่อยากจะได้กลับไปในครั้งนี้คืออะไร ?

  2. แรงใจ ฝึกทักษะ ข้อคิด ความรู้ แนวทาง สนุก ผ่อนคลาย สบาย

  3. ครั้งที่ ๔ ครั้งที่ ๓ ครั้งที่ ๒ ครั้งที่ ๑ ใจ ความรู้ ความสามารถ / ความสำเร็จของงาน + ชีวิต บ้านผู้หว่าน (๑๕-๑๗ ก.ย.๕๑) ความรู้ รร.หลุยส์ (๑๖-๑๗ มิ.ย.๕๑) มวกเหล็ก (๑๑-๑๓ มี.ค.๕๑) นนนทรีย์ ( ๑๒-๑๔ พ.ย.๕๐) การปฏิบัติ เวลา แนวทางในการจัดตลาดนัดความรู้ (Community of Practice)ของเครือข่าย สคร.

  4. Knowledge Assets AAR Retrospective Sharing Knowledge Capture Creation Knowledge Assets วัตถุประสงค์และความคาดหวัง ๑. สกัด ความรู้ และ บทเรียนจากการจัดตลาดนัดความรู้ ของแต่ละสคร. ๑.๑ “ทำได้ดี หรือไม่ดี” ๑.๒ Why ๑.๓ How ๒. การสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value added)ของความรู้ ๒.๑ เขียนคู่มือ ๒.๒ การดำเนินงานต่อในพื้นที่ Knowledge Identification Knowledge Vision

  5. สัมฤทธิผล ของการเรียนรู้ สาธิต ทำให้ดูเป็นตัวอย่าง ให้ทำเอง พาทำ จับมือทำ แนวคิด หลัก ทฤษฎี เครื่องมือ

  6. K 1 K 2 K 3 K 1 K 8 K 7 K 2 K 6 K 3 K 4 K 5 K 5 K 4 K 8 K 7 K 6 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “เชิงลึก” ๑. Storytelling(การเล่า) ๒. Knowledge Capture(จับความรู้) ๓. Knowledge Creation(สร้างความรู้) การถอดบทเรียน (AAR, Retrospective) เรียนรู้ตัวเอง การโยงความรู้ไปใช้ประโยชน์ ๑. บริบท ๑. เราจัดเวทีการเรียนรู้ (ตลาดนัดความรู้) ได้ดีหรือไม่ดี ๒. การประยุกต์ (กุศโลบาย) ดูอะไรบ้าง (องค์ประกอบ) มาตรฐาน ? ทำไมถึงเป็นอย่างนั้น ? ๓. คุณอำนวย คุณลิขิต ๒. ขั้นตอน วิธีการ ที่จะทำให้ดี : How to , SOP

  7. ๑. ทำ “ความรู้” ของเราให้ชัด (คั้นกะทิ หาจุดขาย) ๒. เตรียม “สื่อเพื่อการนำเสนอ” ( VCD, กระดาษ) ๓. เตรียม “ผู้ขาย” ประจำ บูธ ๔. เตรียม “คน” ออกไปแสวงหาสินค้าที่เราขาดแคลน มอบโจทย์ สร้างความเข้าใจในบทบาท กำหนดเป้าหมายในการเรียนรู้

  8. สคร..................... ชอบ สนใจ (ซื้อ) อะไร จาก สคร. จะเอาไปใช้อย่างไร

  9. ๑. ตลาดนัดความรู้ คืออะไร หน้าตาเป็นอย่างไร ๒. แนวคิด หลักการ ที่อยู่เบื้องหลัง คืออะไร ๓. ทำให้ได้ดี ถูกต้อง ได้มาตรฐาน ต้องทำอย่างไร ๔. จะใช้ให้เป็นประโยชน์กับการเคลื่อนงานของ สคร. และภาคีเครือข่ายได้หรือไม่ อย่างไร ๕. จะสร้างตัวช่วยในการขับเคลื่อน ขยายผลได้อย่างไร คู่มือ (เอกสาร + VCD)

  10. ๑. ตลาดนัดความรู้ คืออะไร หน้าตาเป็นอย่างไร ๒. แนวคิด หลักการ ที่อยู่เบื้องหลัง คืออะไร ๓. ทำให้ได้ดี ถูกต้อง ได้มาตรฐาน ต้องทำอย่างไร ๔. จะใช้ให้เป็นประโยชน์กับการเคลื่อนงานของ สคร. และภาคีเครือข่ายได้หรือไม่ อย่างไร ๕. จะสร้างตัวช่วยในการขับเคลื่อน ขยายผลได้อย่างไร คู่มือ (เอกสาร + VCD)

  11. K 1 K 2 K 3 K 1 K 8 K 7 K 2 K 6 K 3 K 4 K 5 K 5 K 4 K 8 K 7 K 6 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “เชิงลึก” ๑. Storytelling(การเล่า) ๒. Knowledge Capture(จับความรู้) ๓. Knowledge Creation(สร้างความรู้) การถอดบทเรียน (AAR, Retrospective) เรียนรู้ตัวเอง การโยงความรู้ไปใช้ประโยชน์ ๑. บริบท ๑. เราจัดเวทีการเรียนรู้ (ตลาดนัดความรู้) ได้ดีหรือไม่ดี ๒. การประยุกต์ (กุศโลบาย) ดูอะไรบ้าง (องค์ประกอบ) มาตรฐาน ? ทำไมถึงเป็นอย่างนั้น ? ๓. คุณอำนวย คุณลิขิต ๒. ขั้นตอน วิธีการ ที่จะทำให้ดี : How to , SOP

  12. K 1 K 8 K 7 K 2 K 6 K 3 K 4 K 5 ก่อนทำ องค์ประกอบ ๑. สมาชิกในกลุ่ม (จำนวน CC) ๒. ตัวสินค้า (เนื้อหา) ๓. ความทรงจำ (สื่อ ภาพ VCD) ๔. คุณอำนวย คุณลิขิต ๕. ชุดคำถาม (วัตถุประสงค์ เป้า) ๖. เวลา ๗. สถานที่ การถอดบทเรียน (AAR, Retrospective) เรียนรู้ตัวเอง ๑. เราจัดเวทีการเรียนรู้ (ตลาดนัดความรู้) ได้ดีหรือไม่ดี ดูอะไรบ้าง (องค์ประกอบ) มาตรฐาน ? ทำไมถึงเป็นอย่างนั้น ? ๒. ขั้นตอน วิธีการ ที่จะทำให้ดี : How to , SOP

  13. องค์ประกอบ ๑. ผู้ขาย K 1 K 2 K 3 (๑) มีเป้าหมายในการขาย (๒) ความรู้ K 5 (๓) ทักษะ K 4 (๔) ตัวช่วย (ตัวอย่าง เอกสาร VCD) K 8 ๒. ผู้ซื้อ K 7 K 6 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “เชิงลึก” (๑) มีเป้าหมายในการซื้อ (๒) ความรู้ ๑. Storytelling(การเล่า) (๓) ทักษะ ๒. Knowledge Capture(จับความรู้) ๓. Knowledge Creation(สร้างความรู้) ๓. เวลา ๔. สถานที่ บรรยากาศ

  14. องค์ประกอบ ๑. สมาชิกในกลุ่ม ๒. ความทรงจำ (การบันทึกใบงาน) ๓. คุณอำนวย คุณลิขิต ๔. ชุดคำถาม (วัตถุประสงค์ เป้า) ๕. เวลา ๖. สถานที่ การโยงความรู้ไปใช้ประโยชน์ ๑. บริบท ๒. การประยุกต์ (กุศโลบาย) ๓. คุณอำนวย คุณลิขิต

  15. ปัญหาที่พบบ่อย ๑. ในการทำ AARRetrospective และ KA ๒. ในการทำ Knowledge Sharing, Capture, Creation, KA ๓. ในการกำหนด Knowledge Vision, Identification

  16. การถอดความรู้และบทเรียน การถอดความรู้และบทเรียน

  17. การตีความ ปรากฎการณ์จริง ภาพยนต์ การเล่า หนังสือ การฟัง การดู ฟัง การอ่าน ความละเอียด ประสบการณ์ ความสามารถ ในการอ่านชีวิต • หลัก • ธรรม • วิชาการด้าน... กระบวนการคิด

  18. ๑. การสร้างชุดคำถามเกี่ยวกับ “ตลาดนัดความรู้” ๒. จัดหมวดหมู่ ชุดคำถาม ๓. การจัดทำสารบัญคู่มือ ๔. การออกแบบรูปร่าง หน้าตาของคู่มือ ๕. การเขียน

  19. องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) ๑. การมีภาพอนาคตร่วม (Shared Vision) ๒. การเรียนรู้กันเป็นทีม (Team Learning) ๓. ความสามารถในการเห็นช้างทั้งตัว(Systems Thinking) ๔. การเปลี่ยนมุมมอง (Mental Model) ๕. การสร้างวินัยในการเรียนรู้ (Personal Mastery)

  20. Systems Thinking • ระบบคุณค่า • ระบบมูลค่า ปรากฏการณ์ พฤติกรรม ที่เราเห็น แบบแผน เกิดขึ้นบ่อยๆ ที่เราไม่เห็น โครงสร้าง ระบบ วัฒนธรรม ฐานคิด วิธีคิด วิธีมองโลก มองชีวิต

  21. สื่อ วัด บ้าน โรงเรียน อสม. การเขียนผังระบบเพื่อช่วยในการถอดบทเรียน ๑. ตัวละครหลักที่เกี่ยวข้อง ๒. ผลที่อยากให้เกิด ๓. กิจกรรมที่ทำ สคร. ๔. ผลที่เกิดขึ้นจริง สสจ. KPICSF CC สอ. KPICSF CC อบต. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน KPICSF CC

  22. สื่อ ท้องที่ ท้องถิ่น (นายก ปลัด สมาชิก) (กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน) วัด บ้าน โรงเรียน กลุ่มต่างๆ หน่วยงานอื่น หน่วยงานรัฐ พอช. สปสช. สสส. สคร. พม. เกษตร. พช. ศึกษา. ส.อนามัย อสม.

  23. คิด คิด คิด ผล ผล ผล ทำ ทำ ทำ การจัดการความรู้ ก่อน ระหว่าง หลัง

  24. พัฒนาคน พัฒนางาน พัฒนาองค์กร พัฒนาเครือข่าย KM วิธีคิด (วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ก่อน ระหว่าง หลังความรู้มีอยู่ในตัวคนรอบข้าง) วิธีทำ (กำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน กำหนดขั้นตอนการทำงาน กำหนดความรู้ที่จำเป็น แสวงหาความรู้ (ผู้รู้ ตำรา Webวง) การประยุกต์ใช้ ประเมินผล) ผลลัพธ์ ชีวิตและงานดีขึ้น ๑.เรื่องอะไร ๒.แค่ไหน ?

  25. การจัดวงการเรียนรู้ (COP) • ตัวเดินเรื่อง • ความเป็นชุมชน • แนวปฏิบัติ

  26. วงจรการปฏิบัติงาน BSC ๑. เห็นหมากทั้งกระดาน การวิเคราะห์ การปักธง (การเลือกเป้าหมายของโครงการ) : SWOT ๒. การกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของงาน (KPI : ปริมาณ คุณภาพ เวลา) SM ๓. การกำหนดเส้นทางเดิน ขั้นตอน (Work flow) OM ต้องทำอะไร ให้ได้อะไร ใครทำ ทำอย่างไร ทำเมื่อไหร่ ๔. การวิเคราะห์ปัจจัย เงื่อนไข ที่จะทำให้เป้าหมายบรรลุ (Critical Success Factor): Core Competency (ใจ ความรู้ ทักษะ ที่ต้องใช้แต่ละขั้น,การได้มา) ๕. ปฎิบัติ (การสังเกต เฝ้าดู บันทึก) ๖. การเทียบเคียงผลการดำเนินงานกับความคาดหวัง (After Action Review & Benchmarking) ๖.๑ การถอดบทเรียน (After Action Review) ผลลัพธ์ที่ได้ (Output Outcome Impact Effect) วิธีการที่ทำ (How to) ๖.๒ การเทียบเคียง (Benchmarking ) ตัวเรา (เป้าหมายที่เราตั้งไว้ KPI) คนอื่น(Best practice) ปัจจัย เงื่อนไข ที่ทำให้ได้ผลลัพธ์ของงาน ดี หรือ ไม่ดี ๖.๓ จะทำให้ดีขึ้นได้อย่างไร

  27. ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ ระดับตำบล นโยบาย งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ(ต่อเนื่อง) Competency มาตรฐานงาน ระดับหมู่บ้าน อสม.

  28. สคร๑๐ สคร๙ สคร๘ สคร๖ สคร๕ สคร๗ สคร๒ สคร๓ สคร.๑ สคร๔ สคร๑๑ สคร๑๒ Cluster C Cluster B Cluster A จัดตลาดนัดความรู้ ๖ เดือน ครั้ง (ปีละ ๒ ครั้ง) แต่ละครั้ง แบ่งกลุ่มย่อย ตามกลุ่มงาน KA เตรียมคุณอำนวย + คุณลิขิต Cluster D ค้นหา/สร้าง Best Practiceแต่ละเรื่อง ถอดบทเรียน สังเคราะห์ ทำ KA

  29. สคร๑๐ สคร๙ สคร๘ สคร๖ สคร๕ สคร๗ สคร๒ สคร๓ สคร.๑ สคร๔ สคร๑๑ สคร๑๒ Cluster B Cluster C ผลลัพธ์ ๑. คน (คุณอำนวย คุณลิขิต ผู้รู้ NWManager ) Cluster A ๒. กลุ่ม องค์กร เครือข่ายการเรียนรู้ (ใจ เพื่อน ) ๓. งาน ๔. Best Practice(ทุกมิติ ใน + นอก องค์กร) ๕. ฐานข้อมูล คลังความรู้ (ใช้แล้ว, จะใช้) ๖. คู่มือ (คุณอำนวย ลิขิต, การออกแบบการเรียนรู้) Cluster D ๗. วิธีการประยุกต์ใช้ KMในบริบทที่หลากหลาย ๘. สื่อเอกสาร VCDเพื่อการเผยแพร่

  30. อบต. ป้องกันและควบคุมโรค เครือข่ายระดับประเทศ สคร. เครือข่ายระดับเขต สสจ. เครือข่ายระดับจังหวัด CUP เครือข่ายระดับอำเภอ ภาคีอื่นๆ PCU เครือข่ายระดับตำบล นโยบาย งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ(ต่อเนื่อง) Competency มาตรฐานงาน

  31. คน กิจกรรม เครือข่าย กลไกจัดการ องค์ความรู้ Team Learning / Community of Practice Knowledge Sharing/Story Telling/Deep Listening/Knowledge Capture KPI / Critical Success Factors / Core Competencies Learn Before/Learn During/Learn After Knowledge Facilitator / Note Taker การจัดการความรู้ การจัดการการเรียนรู้ KM ถอดความรู้ บทเรียน การจัดการทางสังคม สิ่งที่เขาปฏิบัติอยู่แล้ว พาปฏิบัติในสิ่งใหม่ๆ ช่องทางในการใช้จุดเด่น เห็นจุดเด่น เห็นศักยภาพ เห็นโอกาส ๑. เชิงการพัฒนา ๒.เชิงองค์ความรู้ รู้จักเขา ผลลัพธ์ เอกสารหลังการประชุม รายงานวิจัย คู่มือ VCD

  32. ใจ ความรู้ ความสามารถ / ความสำเร็จของงาน + ชีวิต ครั้งที่ ๔ ความรู้ ครั้งที่ ๓ ครั้งที่ ๒ การปฏิบัติ ครั้งที่ ๑ เวลา แนวทางในการจัดตลาดนัดความรู้ (Community of Practice)ของเครือข่าย

  33. วิธีการเรียนรู้ ฟัง อ่าน สื่อภาพ เสียง สาธิตให้ดู พุดคุย แลกเปลี่ยน ลงมือปฏิบัติเอง สอนคนอื่น % 5 10 20 30 50 75 90 ประสิทธิผลของการเรียนรู้ ดัดแปลงจากการนำเสนอของ Erik Johnson, World Bank Institute

More Related