1 / 142

หลักการและนโยบายบัญชี สำหรับหน่วยงานภาครัฐ

หลักการและนโยบายบัญชี สำหรับหน่วยงานภาครัฐ. วิชาการบัญชีภาครัฐ – รหัสวิชา บช 103 โครงการพัฒนาคุณภาพผู้จัดทำบัญชีภาครัฐ. การปฏิรูประบบบัญชีภาครัฐ. ผลที่คาดหวัง. เครื่องมือ. ต้นทุนที่แท้จริงอันเกิดจากการใช้ทรัพยากรในการดำเนินการ. เกณฑ์คงค้าง ต้นทุนผลผลิต. รายงานการเงิน.

parry
Download Presentation

หลักการและนโยบายบัญชี สำหรับหน่วยงานภาครัฐ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักการและนโยบายบัญชีสำหรับหน่วยงานภาครัฐ วิชาการบัญชีภาครัฐ – รหัสวิชา บช 103 โครงการพัฒนาคุณภาพผู้จัดทำบัญชีภาครัฐ

  2. การปฏิรูประบบบัญชีภาครัฐการปฏิรูประบบบัญชีภาครัฐ ผลที่คาดหวัง เครื่องมือ • ต้นทุนที่แท้จริงอันเกิดจากการใช้ทรัพยากรในการดำเนินการ • เกณฑ์คงค้าง ต้นทุนผลผลิต • รายงานการเงิน • ฐานะการเงินที่ถูกต้องครบถ้วน • ความเป็นสากล และโปร่งใสของข้อมูลทางบัญชี • มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ • การตัดสินใจของผู้บริหารด้วยการใช้ข้อมูลทางบัญชีที่มีคุณภาพมากขึ้น ทั้งในระดับหน่วยงานและระดับรัฐบาล • รายงานการเงิน และรายงานอื่น ๆ ที่ใช้ข้อมูลทางบัญชี

  3. การปฏิรูประบบบัญชีภาครัฐการปฏิรูประบบบัญชีภาครัฐ • ขยายวัตถุประสงค์ของการจัดทำบัญชี ควบคุมและติดตาม การใช้งบประมาณ • เปลี่ยนหลักการบัญชี เกณฑ์เงินสด เกณฑ์คงค้าง • ติดตามสถานะการเงิน และการใช้ทรัพยากร ในการดำเนินงาน (ต้นทุนผลผลิต)

  4. การปฏิรูประบบบัญชีภาครัฐการปฏิรูประบบบัญชีภาครัฐ ก่อน หลัง • บัญชีส่วนราชการ เกณฑ์เงินสด งบประมาณ งบประมาณเบิกจากคลัง รายจ่ายตามงบประมาณ รายจ่ายงบกลาง เงินนอก เงินนอกงบประมาณ รายได้แผ่นดิน รายได้แผ่นดิน /นำส่ง • บัญชีส่วนราชการ เกณฑ์คงค้าง งบประมาณ รายได้จากงบประมาณ (T/R) ค่าใช้จ่าย • เงินนอก รายได้ • ค่าใช้จ่าย • รายได้แผ่นดิน รายได้แผ่นดิน /นำส่ง (T/E) • (เกณฑ์เงินสด) • บัญชีทุนหมุนเวียน เกณฑ์คงค้าง มาตรฐานบัญชีที่รับรองทั่วไป • บัญชีหน่วยงานภาครัฐอื่น - • บัญชีทุนหมุนเวียน เกณฑ์คงค้าง มาตรฐานบัญชีภาครัฐ • บัญชีหน่วยงานภาครัฐอื่น • เกณฑ์คงค้าง มาตรฐานบัญชีภาครัฐ

  5. การปฏิรูประบบบัญชีภาครัฐการปฏิรูประบบบัญชีภาครัฐ • ขยายขอบเขตการจัดทำรายงาน รายงานประกอบการ ติดตามงบประมาณ • ปรับแนวทางการกำหนดหลักเกณฑ์การบัญชี ระบบบัญชีส่วนราชการ • รายงานการเงิน • เพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไป มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ

  6. แนวคิดในการกำหนดหลักการบัญชีภาครัฐแนวคิดในการกำหนดหลักการบัญชีภาครัฐ • หลักการควบคุม • รัฐบาลควบคุมหน่วยงานภาครัฐ • จัดทำงบการเงินรวมของแผ่นดิน (รัฐบาล) • หน่วยงานภาครัฐควบคุมทรัพยากร • กำหนดหน่วยงานที่เสนอรายงานเป็นหน่วยที่มีอำนาจ ควบคุมทรัพยากร (ระดับกรม)

  7. แนวคิดในการกำหนดหลักการบัญชีภาครัฐแนวคิดในการกำหนดหลักการบัญชีภาครัฐ รัฐบาลควบคุม ใช้เงินงบประมาณเป็นส่วนใหญ่ บัญชีรัฐบาล (9999) ไม่ใช่หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานภาครัฐ • ถูกควบคุมโดยรัฐบาล (มีอิทธิพลในการกำหนดนโยบายสำคัญ) • ใช้จ่ายเงินงบประมาณเป็นหลักในการดำเนินงาน (ระยะยาว) 7

  8. 1. รัฐบาลควบคุม+ไม่ใช้เงินงปม. >> เป็น • ทุนหมุนเวียน 4. ไม่ถูกรัฐบาลควบคุม+ไม่ใช้เงินงปม. >> ไม่เป็น • ธนาคารแห่งประเทศไทย 2. ไม่ถูกรัฐบาลควบคุม+ใช้เงินงปม. >> เป็น • หน่วยงานอิสระตามรธน. 5. รัฐบาลควบคุม+ไม่ใช้เงินงปม. >> ไม่เป็น • รัฐวิสาหกิจไม่ใช้งปม. เช่น ปตท. 6. ไม่ถูกรัฐบาลควบคุม+ใช้เงินงปม. >> ไม่เป็น • ไม่มี (มีเพียงใช้งปม.บางส่วน) รัฐบาลควบคุม ใช้เงินงบประมาณเป็นส่วนใหญ่ 3 1 2 7 5 6 4 ไม่ใช่หน่วยงานภาครัฐ 7. รัฐบาลควบคุม+ใช้เงินงปม. >> ไม่เป็น • รัฐวิสาหกิจใช้งปม. เช่น กกท. 3. รัฐบาลควบคุม+ใช้เงินงปม. >>เป็น • ส่วนราชการ 8

  9. แนวคิดในการกำหนดหลักการบัญชีภาครัฐแนวคิดในการกำหนดหลักการบัญชีภาครัฐ เน้นผลผลิตมากกว่าประเภทเงิน บันทึกเงินในงบประมาณ และเงินนอกประมาณในลักษณะเดียวกัน ตามรายการที่เกิดขึ้น • การบันทึกบัญชีตามความรับผิดชอบ • รายการที่อยู่ในความดูแลรับผิดชอบ ไม่จำกัดเฉพาะความเป็น เจ้าของ เช่น ที่ดินราชพัสดุ

  10. มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ • หลักการและนโยบายบัญชีภาครัฐ • มาตรฐานรายงานการเงิน • ผังบัญชีมาตรฐาน

  11. มาตรฐานบัญชีที่ใช้อ้างอิงมาตรฐานบัญชีที่ใช้อ้างอิง IPSAS(International Public SectorAccounting Standards) มาตรฐานการบัญชีไทย IFRS (International Financial Reporting Standards) and IAS (International Accounting Standards)

  12. ขอบเขตการถือปฏิบัติตามหลักการและนโยบายบัญชีฯขอบเขตการถือปฏิบัติตามหลักการและนโยบายบัญชีฯ • ส่วนราชการระดับกรม • หน่วยงานภาครัฐลักษณะพิเศษ • หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ • องค์การมหาชน • หน่วยงานอิสระที่ตั้งขึ้นโดยกฎหมายเฉพาะ • กองทุนเงินนอกงบประมาณ

  13. ข้อแตกต่างของนโยบายบัญชีภาครัฐและนโยบายบัญชีทั่วไปข้อแตกต่างของนโยบายบัญชีภาครัฐและนโยบายบัญชีทั่วไป • ไม่มีเจ้าของโดยตรง • มีข้อจำกัดในการบริหารทรัพยากร • ไม่ได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์บางรายการในความดูแลรับผิดชอบ หน่วยงานที่เสนอรายงาน ภาครัฐ หน่วยงานเจ้าของงบประมาณ หน่วยงานระดับกรมหรือเทียบเท่ากรม

  14. ข้อแตกต่างของนโยบายบัญชีภาครัฐและนโยบายบัญชีทั่วไปข้อแตกต่างของนโยบายบัญชีภาครัฐและนโยบายบัญชีทั่วไป • มีเจ้าของโดยตรง • บริหารทรัพยากรของตนเองแยกจากเจ้าของ • ได้รับประโยชน์โดยตรงจากสินทรัพย์ที่องค์กรเป็นเจ้าของ หน่วยงานที่เสนอรายงาน ภาคเอกชน องค์กรจัดตั้งขึ้นเป็นนิติบุคคล บริษัท ห้างหุ้นส่วน มูลนิธิ สมาคม

  15. ข้อแตกต่างของนโยบายบัญชีภาครัฐและนโยบายบัญชีทั่วไปข้อแตกต่างของนโยบายบัญชีภาครัฐและนโยบายบัญชีทั่วไป ภาครัฐ รายการทั่วไป ทั่วไป • ที่ดิน (ครอบครองและใช้ประโยชน์โดยไม่ได้เป็นเจ้าของ) • อาคาร (ครอบครองและใช้ประโยชน์โดยไม่ได้เป็นเจ้าของ) • ทุน • ไม่บันทึก • บันทึกอาคาร (ยกเว้นหน่วยงานไม่ได้รับผิดชอบคชจ.ดูแลบำรุงรักษา) • บันทึกมูลค่าสินทรัพย์สุทธิเมื่อตั้งยอด/ตั้งหน่วยงาน • บันทึกสิทธิการใช้ประโยชน์ • บันทึก สิทธิการใช้ประโยชน์ • บันทึกเงินทุนที่เจ้าของลงทุน

  16. ข้อแตกต่างของนโยบายบัญชีภาครัฐและนโยบายบัญชีทั่วไปข้อแตกต่างของนโยบายบัญชีภาครัฐและนโยบายบัญชีทั่วไป รายการเฉพาะ นโยบายบัญชีภาครัฐ • บันทึกเมื่อรับชำระเป็นรายได้ภาษีและล้างโดยลดยอดหนี้สินจากการออกบัตรภาษี • บันทึกปรับปรุงสิ้นปีตามเม็ดเงินค้างนำส่งและกลับรายการต้นปีใหม่ • บันทึกเมื่อได้รับ/จ่ายเงินในลักษณะเงินรับฝากเพื่อดูแลเก็บรักษาแทนซึ่งหน่วยงานไม่ได้ใช้ประโยชน์จากเงินนั้นโดยตรง • บันทึกเงินอุดหนุนและเงินบริจาคที่ได้รับแบบที่ผู้ให้มีเงื่อนไขที่เป็นข้อจำกัดการใช้เงิน • บัตรภาษี • รายได้แผ่นดินรอนำส่งคลัง • เงินรับฝาก • รายได้อุดหนุนและบริจาครอรับรู้ 16

  17. ข้อแตกต่างของนโยบายบัญชีภาครัฐและนโยบายบัญชีทั่วไปข้อแตกต่างของนโยบายบัญชีภาครัฐและนโยบายบัญชีทั่วไป รายการเฉพาะ นโยบายบัญชีภาครัฐ • บันทึกเมื่อได้รับอนุมัติการเบิกจากกรมบัญชีกลางหรือเมื่อตั้งเบิกกรณีจ่ายผ่าน • บันทึกเมื่อได้รับโอนเงินจากหน่วยงานอื่น • บันทึกเมื่อได้รับเงินอุดหนุนแบบที่ผู้ให้ไม่มีเงื่อนไขที่เป็นข้อจำกัดและทยอยรับรู้รายได้ที่มีเงื่อนไขเป็นข้อจำกัด เมื่อเป็นไปตามเงื่อนไขนั้น • รายได้งบประมาณ • รายได้เงินอุดหนุน(จากหน่วยงานภาครัฐ) • รายได้อุดหนุน (จากรสก.และอปท.) 17

  18. ข้อแตกต่างของนโยบายบัญชีภาครัฐและนโยบายบัญชีทั่วไปข้อแตกต่างของนโยบายบัญชีภาครัฐและนโยบายบัญชีทั่วไป รายการเฉพาะ นโยบายบัญชีภาครัฐ • บันทึกเมื่อได้รับเงิน • บันทึก (โดยระบบ) เมื่อได้รับเงินเข้าบัญชีธนาคารของกรมบัญชีกลางเพื่อรับเงินรายได้แผ่นดิน • รายได้แผ่นดิน • T/E นำส่งเงินรายได้แผ่นดิน 18

  19. โครงสร้างของหลักการและนโยบายบัญชีฯโครงสร้างของหลักการและนโยบายบัญชีฯ • หลักการและนโยบายบัญชีทั่วไป • หลักการและนโยบายบัญชีแต่ละองค์ประกอบของ งบการเงิน

  20. หลักการและนโยบายบัญชีทั่วไปหลักการและนโยบายบัญชีทั่วไป • หน่วยงานที่เสนอรายงาน • งบการเงิน • ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน • หลักการบัญชี • รอบระยะเวลาบัญชี • การดำเนินงานต่อเนื่อง • การโอนสินทรัพย์และหนี้สิน • รายการพิเศษ • รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศ

  21. ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงินลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน • ความเข้าใจได้ • ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ • ความมีนัยสำคัญ • ความเชื่อถือได้ • การเปรียบเทียบกันได้

  22. ความเข้าใจได้ (Understandability) • ข้อมูลในงบการเงินต้องสามารถเข้าใจได้ดีในทันทีที่ผู้ใช้งบการเงินใช้ข้อมูลดังกล่าว • ข้อมูลแม้ว่าจะมีความซับซ้อน แต่ถ้าเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจก็ไม่ควรละเว้นที่จะแสดงในงบการเงิน เพียงเพราะเหตุผลที่ว่าข้อมูลดังกล่าวยากเกินกว่าที่ผู้ใช้งบการเงินบางคนจะเข้าใจได้ • ข้อแม้ว่า • ผู้ใช้งบการเงินมีความรู้ตามควรเกี่ยวกับธุรกิจ กิจกรรมเชิงเศรษฐกิจและการบัญชี รวมทั้งมีความตั้งใจตามควรที่จะศึกษาข้อมูลดังกล่าว

  23. ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ (Relevance) • ข้อมูลที่มีประโยชน์ต้องเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของผู้ใช้งบการเงิน ข้อมูลจะเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจได้ก็ต่อเมื่อข้อมูลนั้นช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถประเมินเหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต รวมทั้งช่วยยืนยันหรือชี้ข้อผิดพลาดของผลการประเมินที่ผ่านมาของผู้ใช้งบการเงินได้ • ข้อพิจารณา • ความมีนัยสำคัญ • การไม่แสดงข้อมูลหรือการแสดงข้อมูลผิดพลาดมีผลกระทบต่อผู้ใช้งบการเงินในการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ ความมีนัยสำคัญขึ้นอยู่กับขนาดของรายการหรือขนาดของความผิดพลาดที่เกิดขึ้นภายใต้สภาพการณ์เฉพาะซึ่งต้องพิจารณาเป็นกรณีๆ ไป

  24. ความเชื่อถือได้ (Reliability) • ข้อมูลที่ไม่มีความผิดพลาดที่มีนัยสำคัญ รวมทั้งไม่มีความลำเอียงในการนำเสนอข้อมูลที่ทำให้ข้อมูลไม่ตรงกับความเป็นจริง • ข้อพิจารณา 1. การเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม 2. เนื้อหาสำคัญกว่ารูปแบบ 3. ความเป็นกลาง 4. ความระมัดระวัง 5. ความครบถ้วน

  25. การเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรมการเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม • ข้อมูลจะมีความเชื่อถือได้เมื่อรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีได้แสดงอย่างเที่ยงธรรม ตามที่ต้องการให้แสดงหรือควรแสดง ดังนั้น งบดุลควรแสดงสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ เฉพาะรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีที่เข้าเกณฑ์การรับรู้รายการ ณ วันที่เสนอรายงาน

  26. เนื้อหาสำคัญกว่ารูปแบบเนื้อหาสำคัญกว่ารูปแบบ • ข้อมูลต้องบันทึกและแสดงตามเนื้อหาและความเป็นจริง เชิงเศรษฐกิจ มิใช่ตามรูปแบบทางกฎหมายเพียงอย่างเดียว เนื้อหาของรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีอาจไม่ตรงกับรูปแบบทางกฎหมายหรือรูปแบบที่ทำขึ้น

  27. สัญญาเช่า • สัญญาเช่าการเงิน Dr. สินทรัพย์ xx Cr. เจ้าหนี้สัญญาเช่าการเงิน xx Dr. เจ้าหนี้สัญญาเช่าการเงิน xx Cr. เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx • สัญญาเช่าดำเนินงาน Dr. ค่าเช่า xx Cr. เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx

  28. ความเป็นกลาง • ข้อมูลที่แสดงอยู่ในงบการเงินมีความน่าเชื่อถือเมื่อมีความเป็นกลาง หรือปราศจากความลำเอียง งบการเงินจะขาดความเป็นกลาง หากการเลือกข้อมูลหรือการแสดงข้อมูลในงบการเงินนั้น มีผลทำให้ผู้ใช้งบการเงินตัดสินใจหรือใช้ดุลยพินิจตามเจตนาของกิจการ

  29. ความระมัดระวัง • การใช้ดุลยพินิจที่จำเป็นในการประมาณการภายใต้ความไม่แน่นอน เพื่อมิให้สินทรัพย์หรือรายได้แสดงจำนวนสูงเกินไป และหนี้สิน หรือค่าใช้จ่ายแสดงจำนวนต่ำเกินไป • แต่ไม่ใช่จะทำการตั้งค่าเผื่อหรือสำรองสูงเกินความเป็นจริง

  30. ความครบถ้วน • ข้อมูลในงบการเงินที่เชื่อถือได้ต้องครบถ้วนภายใต้ข้อจำกัดของความมีนัยสำคัญและต้นทุนในการจัดทำ รายการบางรายการ หากไม่แสดงในงบการเงินจะทำให้ข้อมูลมีความผิดพลาด หรือ ทำให้ผู้ใช้งบการเงินเข้าใจผิด ดังนั้น ข้อมูลดังกล่าวจะมีความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจน้อยลงและขาดความน่าเชื่อถือได้

  31. การเปรียบเทียบกันได้ (Comparability) • ผู้ใช้งบการเงินต้องสามารถเปรียบเทียบงบการเงินของกิจการ ในรอบระยะเวลาต่างกันเพื่อคาดคะเนถึงแนวโน้มของฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของกิจการนั้น

  32. การโอนสินทรัพย์และหนี้สินการโอนสินทรัพย์และหนี้สิน • รับรู้มูลค่าสุทธิตามบัญชีของ ส/ท หรือ น/ส เป็นส่วนทุนของหน่วยงานผู้โอนและผู้รับโอน • รับรู้มูลค่าสุทธิตามบัญชีของ ส/ท หรือ น/ส เป็นค่าใช้จ่าย และรายได้ของหน่วยงานผู้โอนและผู้รับโอน

  33. การโอนสินทรัพย์และหนี้สิน (ต่อ) • โอนตามนโยบายรัฐบาล เช่น ยุบเลิกหน่วยงาน หน่วยงานผู้โอน เดบิต ค่าเสื่อมราคาสะสม ทุน เครดิต สินทรัพย์ หน่วยงานผู้รับโอน เดบิต สินทรัพย์ เครดิต ค่าเสื่อมราคาสะสม ทุน

  34. การโอนสินทรัพย์และหนี้สิน (ต่อ) • หน่วยงานสมัครใจโอน เช่น กองทุนโอนส/ท ให้สรก. • รถยนต์ราคาทุน 100 อายุ 5 ปี ต้นปีที่ 3 โอนไปให้หน่วยงานอื่น ข้อมูลตามบัญชีของหน่วยงานผู้โอน สินทรัพย์-ราคาทุน 100 ค่าเสื่อมราคาสะสม 40

  35. การโอนสินทรัพย์และหนี้สิน (ต่อ) หน่วยงานผู้โอน เดบิต ค่าใช้จ่ายโอน ส/ท 60 ค่าเสื่อมฯ สะสม 40 เครดิต สินทรัพย์ 100 หน่วยงานผู้รับโอน เดบิต สินทรัพย์ (สุทธิ) 60 เครดิต รายได้รับโอนส/ท 60

  36. รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศรายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศ • บันทึกเป็นเงินบาท ณ วันที่เกิดรายการ • ณ วันที่รายงาน • รายการที่เป็นตัวเงิน ใช้อัตราปิด • รายการที่ไม่เป็นตัวเงิน ใช้อัตราวันที่เกิดรายการ • รับรู้ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนเป็นรายได้ / ค่าใช้จ่าย เมื่อมีการชำระเงิน / รายงานรายการที่เป็นตัวเงิน

  37. หลักการและนโยบายบัญชีแต่ละองค์ประกอบของงบการเงินหลักการและนโยบายบัญชีแต่ละองค์ประกอบของงบการเงิน • สินทรัพย์ • หนี้สิน • ส่วนทุน • รายได้ • ค่าใช้จ่าย

  38. การรับรู้ • คำนิยาม • เกณฑ์การรับรู้ • เป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่จะเกิดเหตุการณ์ • วัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ

  39. คำนิยาม • สินทรัพย์ • ทรัพยากรในความควบคุม • เกิดผลประโยชน์ในอนาคต • ศักยภาพในการให้บริการเพิ่มขึ้น • หนี้สิน • เกิดภาระผูกพันในปัจจุบัน • จะเสียทรัพยากรในอนาคต • ศักยภาพในการให้บริการลดลง

  40. ทรัพยากรในความควบคุม ใช้ในการผลิตผลผลิต อาคารบนที่ราชพัสดุ ได้รับค่าตอบ แทนการใช้ ใช่ ได้ประโยชน์ จากการขาย อนุญาตหรือ ปฏิเสธการใช้ ไม่ใช่ ไม่ใช่ ไม่ใช่ ทรัพยากรในความควบคุม

  41. คำนิยาม (ต่อ) • รายได้ • ผลประโยชน์ (Inflow) เข้าหน่วยงาน • สินทรัพย์สุทธิเพิ่มขึ้น • ค่าใช้จ่าย • ผลประโยชน์ (Outflow) ออกจากหน่วยงาน • สินทรัพย์สุทธิลดลง

  42. รายได้ตามคำนิยาม เงินงบประมาณงบลงทุน ผลประโยชน์เข้าหน่วยงาน ใช่ ใช่ สินทรัพย์สุทธิเพิ่มขึ้น รายได้

  43. ขอบเขตของแต่ละองค์ประกอบ ในงบการเงินตามหลักการบัญชีภาครัฐ สินทรัพย์ - ควบคุมประโยชน์การใช้งาน อยู่ในความดูแลรับผิดชอบ หนี้สิน - ภาระผูกพันที่ต้องชดใช้ อยู่ในความดูแลรับผิดชอบ ทุน - สินทรัพย์สุทธิเมื่อเริ่มเกณฑ์คงค้าง/ตั้งหน่วยงาน สินทรัพย์สุทธิเปลี่ยนแปลงสุทธิสะสม รายได้ - สินทรัพย์สุทธิเพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่าย - สินทรัพย์สุทธิลดลง 43

  44. นโยบายบัญชีที่สำคัญบางรายการนโยบายบัญชีที่สำคัญบางรายการ • เงินทดรองราชการ • วัสดุคงคลัง • ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ • สินทรัพย์ไม่มีตัวตน • เจ้าหนี้ • รายได้แผ่นดินรอนำส่งคลัง • เงินกู้ • รายได้จากเงินงบประมาณ • รายได้แผ่นดิน • กำไร/ขาดทุนจากการจำหน่ายสินทรัพย์

  45. เงินทดรองราชการ • ตามหลักการฯ • ลักษณะ - เงินรับจากรัฐบาลเพื่อทดรองจ่ายคชจ.ปลีกย่อยในสนง. เมื่อใช้จ่ายเงินแล้วต้องรวบรวมหลักฐานเพื่อเบิกงปม.มาชดใช้คืน • การรับรู้ - เมื่อได้รับเงิน พร้อมกับบันทึกเงินทดรองราชการรับจากคลัง • การแสดงรายการ – ภายใต้หัวข้อเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด • การบันทึกรายการในระบบ GFMIS • เมื่อตั้งเบิกเงินทดรองในระบบฯ เดบิต เงินทดรองราชการ เครดิต ใบสำคัญค้างจ่าย

  46. เงินทดรองราชการ (ต่อ) • เมื่อรายการตั้งเบิกได้รับอนุมัติ เดบิต ค้างรับกรมบัญชีกลาง เครดิต T/R – เงินทดรองราชการ • รับรู้เงินทดรองราชการรับจากคลังเมื่อกรมบัญชีกลางสั่งจ่ายเงินให้หน่วยงาน เดบิต T/E – เงินทดรองราชการ เครดิต เงินทดรองราชการรับจากคลัง เดบิต เงินฝากธนาคาร เครดิต ค้างรับกรมบัญชีกลาง • ส่วนราชการบันทึกการจ่ายเงินออกไปทั้งจำนวน เดบิต ใบสำคัญค้างจ่าย เครดิต เงินฝากธนาคาร

  47. วัสดุคงคลัง • ตามหลักการฯ • ลักษณะ – สินทรัพย์ใช้หมดเปลืองสิ้นไปในการดำเนินงานปกติ มูลค่าไม่สูง ปกติไม่คงทนถาวร • การรับรู้ - เมื่อหน่วยงานตรวจรับของแล้ว และปรับปรุงรายการ ณ วันสิ้นปีจากการตรวจนับยอดคงเหลือ • การแสดงรายการ – ภายใต้หัวข้อสินค้าและวัสดุคงเหลือ ในกลุ่มสินทรัพย์หมุนเวียน

  48. ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ • ตามหลักการฯ • ลักษณะ – สินทรัพย์ที่มีสภาพคงทนถาวร ให้ประโยชน์แก่หน่วยงานในระยะยาวเกินกว่า 1ปี มูลค่าต่อรายการตั้งแต่ 5,000 บาท ขึ้นไป • การรับรู้ – เมื่อหน่วยงานตรวจรับของแล้ว (จากการซื้อและจ้างก่อสร้าง) • การแสดงรายการ – ภายใต้หัวข้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ในกลุ่มสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน โดยแสดงมูลค่าสุทธิตามบัญชีในงบการเงิน และเปิดเผยรายละเอียดราคาทุน และค่าเสื่อมราคาสะสมในหมายเหตุประกอบงบการเงิน

  49. ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ • การบันทึกรายการในระบบ GFMIS • บันทึกเมื่อหน่วยงานตรวจรับ/ตั้งเบิกในระบบฯเป็นพักสินทรัพย์ และโอนเป็นสินทรัพย์ประเภทนั้นๆ เมื่อสร้าง/บันทึกรายละเอียดในข้อมูลหลักสินทรัพย์ (รายตัว) ในระบบฯ • บันทึกเป็นพักงานระหว่างก่อสร้าง เมื่อตรวจรับงานจ้างก่อสร้างสินทรัพย์ที่ต้องมีการจ่ายเงินหลายงวด โอนเป็นงานระหว่างก่อสร้างเมื่อสร้าง/บันทึกรายละเอียดในข้อมูลหลักสินทรัพย์ (รายตัว - งานระหว่างก่อสร้าง) ในระบบฯ จนกระทั่งการก่อสร้างเสร็จเรียบร้อย จึงโอนงานระหว่างก่อสร้างออกเป็นสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง เช่น อาคาร หรือสิ่งปลูกสร้าง

  50. รายจ่ายภายหลังการได้มาซึ่งสินทรัพย์รายจ่ายภายหลังการได้มาซึ่งสินทรัพย์ • รายจ่ายนั้นทำให้หน่วยงานได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจหรือศักยภาพในการให้บริการตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์เพิ่มขึ้นจากมาตรฐานการปฏิบัติงานที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน • อายุการใช้งานนานขึ้นและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น • ส่งผลให้ผลผลิตมีคุณภาพดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด • ลดต้นทุนการดำเนินงานที่ประเมินไว้เดิมอย่างเห็นได้ชัด

More Related