1 / 1

ที่มาและความสำคัญ

ผลการเรียนการสอนโดยวิธีการสอนบูรณาการแบบขนาน (Parallel Instruction) เรื่อง พืชในท้องถิ่น : เพกา THE OUTCOMES OF THE INTEGRATED PARALLEL INSTRUCTION ON TOPIC OF PLANT IN THE LOCAL: PAKA ( Oroxylum indicum Vent.) จริยา พิชัยคำ : Jariya Pichaikum คงศักดิ์ ธาตุทอง : Kongsak Thathong.

papina
Download Presentation

ที่มาและความสำคัญ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลการเรียนการสอนโดยวิธีการสอนบูรณาการแบบขนาน (Parallel Instruction) เรื่อง พืชในท้องถิ่น: เพกาTHE OUTCOMES OF THE INTEGRATED PARALLEL INSTRUCTION ON TOPIC OF PLANT IN THE LOCAL: PAKA (Oroxylum indicum Vent.)จริยา พิชัยคำ : Jariya Pichaikumคงศักดิ์ ธาตุทอง : Kongsak Thathong ตารางที่ 2 แสดงจำนวนนักเรียนที่ผ่านเมื่อเทียบกับเกณฑ์ ที่มาและความสำคัญ กลุ่มเป้าหมาย การเรียนการสอนบูรณาการแบบขนานจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างความคิดรวบยอดในศาสตร์ต่างๆ ทำให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายและมีประโยชน์ในการขจัดความซ้ำซ้อนของเนื้อหาต่างๆ ในหลักสูตร ช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ความสนใจในลักษณะองค์รวม ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ความเข้าใจสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวได้ และทำให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรงที่หลากหลายและเห็นความสำคัญของท้องถิ่นตนเอง • นักเรียน :นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่5 จำนวน 26 คน • ครูผู้สอน :ครูสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระการเรียนรู้ • ภาษาต่างประเทศ และสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ • เทคโนโลยี จำนวน 3 คน • สถานที่ศึกษา : โรงเรียนบ้านฝาง อ. กระนวน จ.ขอนแก่น • ระยะดำเนินการ : ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2548 วิทยาศาสตร์ นักเรียนส่วนใหญ่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ การงานอาชีพและเทคโนโลยีและภาษาต่างประเทศ สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ร้อยละ60 ,50 และ 50 ตามลำดับ และมีจำนวนนักเรียนผ่านเกณฑ์สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ร้อยละ 70 ,80 และ80 ตามลำดับ บูรณาการขนาน ใช้ต้นเพกา วัตถุประสงค์การวิจัย ภาษาต่างประเทศ การงานอาชีพฯ 1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ที่เกิดขึ้นจาก การสอนโดยใช้วิธีการสอนบูรณาการแบบขนาน (Parallel Instruction) เรื่อง พืชในท้องถิ่น: เพกา 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูและนักเรียน เกี่ยวกับกิจกรรม การสอนบูรณาการแบบขนาน (Parallel Instruction) เรื่อง พืช ในท้องถิ่น: เพกา สรุปและอภิปรายผลการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคิดเห็นของครูและนักเรียน ตารางที่ 1 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนรายสาระ ด้านความคิดเห็นของครูและนักเรียนต่อวิธีการสอนบูรณาการแบบขนานโดยภาพรวมเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยวิธีการบูรณาการแบบขนานครั้งนี้ ดี อยู่ในระดับ ”มาก” ระเบียบวิธีวิจัย ประโยชน์ที่ได้จากงานวิจัยครั้งนี้ ผลงานวิจัยครั้งนี้ครูและผู้สนใจสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการของตนเอง ให้สอดคล้องกับ พ.ร.บ. การศึกษา 2542 ระบุไว้ได้เป็นอย่างดี ระเบียบวิธีวิจัย: การวิจัยแบบหนึ่งกลุ่มทดสอบหลังทดลอง (One Group Posttest Designs)

More Related