1 / 45

โดย ชิงชัย ศรประสิทธิ์ ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดร้อยเอ็ด

พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551. โดย ชิงชัย ศรประสิทธิ์ ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดร้อยเอ็ด แผนกคดีเยาวชนและครอบครัว. เค้าโครงการบรรยาย. บทนำ. 1. ผู้ป่วยจิตเวชซึ่งยังไม่ได้กระทำความผิด. 2.

paiva
Download Presentation

โดย ชิงชัย ศรประสิทธิ์ ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดร้อยเอ็ด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 โดย ชิงชัย ศรประสิทธิ์ ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดร้อยเอ็ด แผนกคดีเยาวชนและครอบครัว

  2. เค้าโครงการบรรยาย บทนำ 1 ผู้ป่วยจิตเวชซึ่งยังไม่ได้กระทำความผิด 2 ผู้ป่วยจิตเวชซึ่งถูกกล่าวหาว่ากระทำความผิด 3 ผู้ป่วยจิตเวชซึ่งศาลพิพากษาว่ากระทำความผิด 4 5 ผู้ป่วยจิตเวชซึ่งต้องรับโทษอยู่ในเรือนจำ

  3. 1.บทนำ แนวคิด • การใช้กฎหมายอาญาและการลงโทษ ไม่สามารถบรรลุ วัตถุประสงค์ของ การยับยั้ง หรือป้องกันเป็น รายบุคคลได้ กฎหมายจึงถือว่าผู้ป่วยจิตเวช ไม่ควรถูกตำหนิหรือเป็นคนเลว (bad) แต่ถือว่าเป็นผู้ป่วย (mad) (ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 65, 48)

  4. การป้องกันสังคมจากผู้ป่วยจิตเวชที่มีภาวะอันตราย ต้องใช้มาตรการก่อนที่จะกระทำความผิดและป้องกันการกระทำผิดในอนาคต โดยการกันตัวออกจาก สังคม และให้การรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ ( พ.ร.บ.สุขภาพจิต 2551 มาตรา 29(1) ) แนวคิด (ต่อ)

  5. แนวคิด (ต่อ) • การควบคุมและบังคับรักษาผู้ป่วยจิตเวชต้องเลือกใช้วิธีการ ที่รุนแรงน้อยที่สุด ( The Least Restrictive Alternative Approach) ( พ.ร.บ. สุขภาพจิต 2551 มาตรา 17, 18, 29(2), 30 ) • สิทธิของผู้ป่วยจิตเวชที่จะได้รับการรักษาตามมาตรฐาน เสมือนเป็นการตอบแทนหรือแลกเปลี่ยนกับเสรีภาพที่ต้องสูญเสียไปเพราะถูกควบคุมตัวและบังคับรักษา ( พ.ร.บ. สุขภาพจิต 2551 มาตรา 15(1) )

  6. บทนิยามศัพท์ มาตรา 3 คณะกรรมการ มาตรา 5 – 14 สิทธิผู้ป่วยจิตเวช มาตรา 15 – 20 การบำบัดรักษา มาตรา 21 – 39 - ผู้ป่วยจิตเวช มาตรา 21 – 34 - ผู้ป่วยคดี มาตรา 35 - 39 โครงสร้าง พ.ร.บ. สุขภาพจิต 2551

  7. การฟื้นฟูสมรรถภาพ มาตรา 40 – 41 การอุทธรณ์คำสั่ง มาตรา 42 – 45 พนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา 46 – 49 บทกำหนดโทษ มาตรา 50 – 53 ระเบียบคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ โครงสร้าง พ.ร.บ. สุขภาพจิต 2551 (ต่อ)

  8. การบำบัดรักษาผู้ป่วยจิตเวช ความยินยอม / สมัครใจรักษา การบังคับรักษา

  9. ความยินยอม / สมัครใจรักษา - Informed Consentมาตรา 21 วรรคหนึ่ง - ความยินยอมโดยแจ้งชัด / ปริยาย - การให้ความยินยอมแทนผู้ป่วยจิตเวช (มาตรา 22 วรรคสาม) - ผู้ป่วยอายุต่ำกว่า 18 ปี - ผู้ป่วยขาดความสามารถตัดสินใจให้ความยินยอมได้ การบำบัดรักษาผู้ป่วยจิตเวช (ต่อ)

  10. ผู้มีสิทธิให้ความยินยอมแทนผู้มีสิทธิให้ความยินยอมแทน - คู่สมรส ผู้บุพการี ผู้สืบสันดาน - ผู้ปกครอง ผู้พิทักษ์ ผู้อนุบาล - ผู้ซึ่งปกครองดูแล การบำบัดรักษาผู้ป่วยจิตเวช (ต่อ)

  11. การบังคับรักษา : ไม่ต้องได้รับความยินยอม - ความผิดปกติทางจิต มาตรา 3 - ภาวะอันตราย มาตรา 22(1) ประกอบ มาตรา 3 - ความจำเป็นต้องได้รับการรักษา มาตรา 22(2) ประกอบมาตรา 3 การบำบัดรักษาผู้ป่วยจิตเวช (ต่อ)

  12. 2. ผู้ป่วยจิตเวชซึ่งยังไม่ได้กระทำความผิด 2.1 ความผิดปกติทางจิต : ความหมายอย่างกว้าง 2.2 ภาวะอันตรายและมาตรฐานการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน 2.3 ความจำเป็นที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา 2.4 การค้นหาและการส่งต่อผู้ป่วย 2.5 คำสั่งบำบัดรักษาและการปล่อยตัว 2.6 อำนาจตรวจสอบ

  13. 2.2 ภาวะอันตราย และมาตรฐานการชั่งน้ำหนัก พยานหลักฐาน ผู้ป่วย • การประเมินภาวะอันตรายพิจารณาจากองค์ประกอบ ของพฤติกรรมที่มีลักษณะสำคัญอย่างน้อย 4 ประการ คือ 1. ขนาดความรุนแรงของอันตราย 2. ความเป็นไปได้ที่อันตรายจะเกิดขึ้น 3. ความถี่ของอันตรายที่จะเกิดขึ้น 4. เป็นอันตรายที่ใกล้จะถึง

  14. ผู้ป่วย (ต่อ) • การชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน - การชั่งน้ำหนักระหว่างองค์ประกอบ 4 ประการ - มาตรฐานการพิสูจน์ภาวะอันตรายอยู่ในระดับ ที่พิสูจน์ได้ชัดเจนและเชื่อถือได้ (ประมาณร้อยละ 75 ขึ้นไป) 2.2 ภาวะอันตราย และมาตรฐานการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน

  15. ภาวะอันตราย - พฤติกรรมที่.........แสดงออก - น่าจะก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรง (พ.ร.บ.สุขภาพจิต 2551 มาตรา 3) 2.2 ภาวะอันตราย และมาตรฐานการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน (ต่อ)

  16. 2.2 ภาวะอันตราย และมาตรฐานการชั่งน้ำหนัก พยานหลักฐาน (ต่อ) ผู้ป่วยคดี • การประเมินภาวะอันตรายจากพฤติกรรมทางอาญา - พฤติกรรมทางอาญาในอดีต - พฤติกรรมทางอาญาขณะกระทำผิด - พฤติกรรมทางอาญาภายหลังกระทำความผิด

  17. ขาดความสามารถตัดสินใจให้ความยินยอมรับการรักษา • จำเป็นต้องได้รับการรักษาโดยเร็วเพื่อป้องกัน หรือบรรเทามิให้ความผิดปกติทางจิต ทวีความรุนแรงหรือ ป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้น (พ.ร.บ.สุขภาพจิต 2551 มาตรา 3) 2.3 ความจำเป็นที่ต้องได้รับการรักษา

  18. ขาดความสามารถในการตัดสินใจให้ความยินยอมรับการบำบัดรักษา - ไม่เข้าใจลักษณะความเจ็บป่วยของตนเอง ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการรักษา และ - ไม่เข้าใจลักษณะและสาระสำคัญของแผน การรักษาที่แพทย์เสนอ และ - ไม่ตระหนักถึงผลที่จะเกิดขึ้นตามมา จากการที่ตน ตัดสินใจรับหรือไม่ยอมรับแผนการรักษาของแพทย์ 2.3 ความจำเป็นที่ต้องได้รับการรักษา (ต่อ)

  19. 2.4 การค้นหาและส่งต่อผู้ป่วย ประชาชน เจ้าหน้าที่ของรัฐและอำนาจพิเศษ โรงพยาบาล สถานบำบัด

  20. 2.4การค้นหาและส่งต่อผู้ป่วย (ต่อ) ประชาชน เจ้าหน้าที่ของรัฐ - พนักงานเจ้าหน้าที่ - พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ - แพทย์ - พฤติการณ์อันน่าเชื่อว่า................ (พ.ร.บ.สุขภาพจิต 2551 มาตรา 23-26,28 )

  21. 2.4 การค้นหาและส่งต่อผู้ป่วย (ต่อ) อำนาจพิเศษ - ในกรณีฉุกเฉิน - ผู้ป่วยมีภาวะอันตราย - อันตรายใกล้จะถึง - ไม่ต้องมีหมายจับ – หมายค้น ( พ.ร.บ.สุขภาพจิต 2551 มาตรา 26 )

  22. 2.4 การค้นหาและส่งต่อผู้ป่วย (ต่อ) โรงพยาบาลชุมชน / จังหวัด / ศูนย์ ตรวจวินิจฉัย / ประเมินอาการเบื้องต้น ภายใน 48 ชั่วโมง นับแต่ผู้ป่วยมาถึง ส่งต่อสถานบำบัด ( พ.ร.บ.สุขภาพจิต 2551 มาตรา 27 )

  23. 2.5 คำสั่งบำบัดรักษาและการปล่อยตัว คณะกรรมการสถานบำบัดตรวจวินิจฉัย / ประเมินอาการโดยละเอียด ภายใน 30 วัน นับแต่รับตัวไว้ ( พ.ร.บ.สุขภาพจิต 2551 มาตรา 29 )

  24. 2.5 คำสั่งบำบัดรักษาและการปล่อยตัว (ต่อ) คณะกรรมการมีคำสั่ง - ผู้ป่วยใน 90 วัน (ขยายเวลาได้) - ผู้ป่วยนอก (ไม่มีภาวะอันตราย) - ทบทวนผลการรักษา ก่อนถึงกำหนด 15 วัน - เปลี่ยนแปลงคำสั่งได้ - การปล่อยตัว ( พ.ร.บ.สุขภาพจิต 2551 มาตรา 29-32)

  25. 2.6 อำนาจตรวจสอบ การอุทธรณ์ / พ.ร.บ.สุขภาพจิต 2551 มาตรา 42 การฟ้องศาลปกครอง การร้องขอต่อศาลให้ปล่อยตัวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 90 พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ 2539 มาตรา 5

  26. 3. ผู้ป่วยจิตเวชซึ่งถูกกล่าวหาว่ากระทำความผิด 3.1 ความสามารถในการต่อสู้คดี 3.2 การประเมินความสามารถในการต่อสู้คดี 3.3 ขั้นตอนการส่งผู้ป่วยจิตเวชไปตรวจ และบำบัดรักษา (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 14 ประกอบ พรบ.สุขภาพจิต 2551 มาตรา 35,36 )

  27. ความผิดปกติทางจิตเป็นสาเหตุสำคัญ ทำให้ความสามารถในการรับรู้และตัดสินใจ บิดเบือนผิดปกติไปจากที่ควรจะเป็น • การดำเนินคดีจะต้องหยุดลงหรือ เลื่อนออกไปเพื่อประเมินความสามารถ ในการต่อสู้คดี 3.1 ความสามารถในการต่อสู้คดี

  28. หลักเกณฑ์ที่ใช้ในต่างประเทศ - The Mc Garry Rules (USA) - The Criminal Procedure (Insanity and Unfitness to plead) Act 1991 (Eng) • หลักเกณฑ์ที่ใช้ในประเทศไทย - ระเบียบคณะกรรมการสุขภาพจิต ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการรายงานฯ ( แบบ ผค.๑ ) 3. 2 การประเมินความสามารถในการต่อสู้คดี

  29. 3.3 ขั้นตอนการส่งผู้ป่วยจิตเวชไปตรวจและบำบัดรักษา • ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ม.14 -ระหว่างสอบสวนไต่สวนมูลฟ้อง หรือพิจารณา -วิกลจริต และไม่สามารถต่อสู้คดีได้ -ส่งตัวไปตรวจประเมินอาการ -แพทย์รับตัวไว้และทำความเห็นเสนอ -ในชั้นไต่สวนมูลฟ้องหรือพิจารณาแพทย์ต้องมาเบิกความ ประกอบรายงานความเห็น

  30. พ.ร.บ. สุขภาพจิต 2551 มาตรา 35,36 •สถานบำบัดรับตัว • จิตแพทย์ตรวจวินิจฉัยความผิดปกติทางจิต และประเมินความสามารถในการต่อสู้คดี • รายงานศาล ภายใน 45 วัน (ขยายเวลา ได้ 1 ครั้ง แต่ไม่เกิน 45 วัน)

  31. วิกลจริตและต่อสู้คดีไม่ได้ รับตัวไว้ควบคุมและรักษา • รายงาน ภายใน 180 วัน และทุก 180 วัน • หายหรือทุเลา และต่อสู้คดีได้แล้ว รายงานโดยไม่ชักช้า • อายุความฟ้องร้อง ตามประมวลกฎหมาย อาญามาตรา 95  พ.ร.บ. สุขภาพจิต 2551 มาตรา 35,36 (ต่อ)

  32. พ.ร.บ. สุขภาพจิต 2551 มาตรา 35,36 (ต่อ) อายุความฟ้องร้องตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 95 - ต้องฟ้องและได้ตัวผู้กระทำความผิดมาศาล ภายใน (1) 20 ปี : ความผิดระวางโทษประหารชีวิต / จำคุกตลอดชีวิต / จำคุก 20 ปี (2) 15 ปี : ความผิดระวางโทษจำคุกเกิน 7 ปี แต่ไม่ถึง 20 ปี

  33. (3) 10 ปี : ความผิดระวางโทษจำคุกเกิน 1 ปี ถึง 7 ปี (4) 5 ปี : ความผิดระวางโทษจำคุกเกิน 1 เดือน ถึง 1 ปี (5) 1 ปี : ความผิดระวางโทษตั้งแต่ 1 เดือนลงมา หรือ โทษอย่างอื่น พ.ร.บ. สุขภาพจิต 2551 มาตรา 35,36 (ต่อ)

  34. - ถ้าฟ้องและได้ตัวผู้กระทำผิดมาศาลแล้ว แต่ - หลบหนี / วิกลจริต - ศาลสั่งงดการพิจารณาไว้เกินกำหนดเวลา นับแต่หลบหนี หรือ งดพิจารณา - ขาดอายุความ พ.ร.บ. สุขภาพจิต 2551 มาตรา 35,36 (ต่อ)

  35. 4. ผู้ป่วยจิตเวชซึ่งศาลพิพากษาว่ากระทำความผิด 4.1 ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 65, 49, 48, 16 พ.ร.บ. สุขภาพจิต 2551 มาตรา 37,38 4.2 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56 วรรคสอง(4) พ.ร.บ. สุขภาพจิต 2551 มาตรา 39

  36. 4.1 ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 65,49,48,16 - เป็นโรคจิต จิตบกพร่อง จิตฟั่นเฟือน - กระทำความผิดขณะไม่รู้ผิดชอบ หรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ - ไม่ต้องรับโทษ หรือลดโทษ - ส่งตัวไปคุมไว้ในสถานพยาบาลโดยไม่มีกำหนดเวลา หรือ มีกำหนดเวลา - เพิกถอนเปลี่ยนแปลงแก้ไขคำพิพากษา

  37. • ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 49 • ศาลลงโทษจำคุก รอการลงโทษหรือรอการกำหนดโทษ • จำเลยเสพสุราเป็นอาจิณ หรือติดยาเสพติดให้โทษ • ศาลสั่งห้ามเสพสุราหรือยาเสพติดให้โทษ • ภายใน 2 ปี • ถ้าจำเลยฝ่าฝืน ศาลอาจสั่งให้ส่งตัวไปคุมไว้ใน • สถานพยาบาลเป็นเวลาไม่เกิน 2 ปี

  38. • พรบ. สุขภาพภาพจิต 2551 มาตรา 37,38 - สถานบำบัดรักษารับตัวไว้ควบคุมและรักษา - รายงานผลการรักษาและความเห็นต่อศาลภายใน 180วัน และทุก 180 วัน - ผู้ป่วยจิตเวชหายหรือทุเลาและไม่มีภาวะอันตราย รายงานผลการรักษา และความเห็นให้ปล่อยตัวต่อศาลโดยไม่ชักช้า และรายงานให้คณะกรรมการสถานบำบัดรักษาทราบ

  39. ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56 วรรคสอง(4) • ศาลจะลงโทษจำคุก ไม่เกิน 3 ปี • ผู้ป่วยจิตเวชไม่เคยได้รับโทษจำคุกมาก่อน หรือเคยแต่เป็นความผิดฐานประมาทหรือลหุโทษ • ปล่อยตัวไปโดยรอการลงโทษหรือรอการกำหนดโทษ เป็นระยะเวลาไม่เกิน 5 ปี • - คุมความประพฤติโดยให้ไปรับการรักษาความบกพร่อง • ทางจิต

  40. • พ.ร.บ.สุขภาพจิต 2551 มาตรา 39 • สถานบำบัดรักษารับตัวผู้ป่วยจิตเวชไว้แบบผู้ป่วยนอก/ผู้ป่วยใน • รายงานผลการรักษาและความเห็นต่อศาลภายใน 90 วัน • รายงานซ้ำทุก 90 วัน • ผู้ป่วยจิตเวชหายหรือทุเลา รายงานผลการรักษาและความเห็น • ต่อศาลโดยไม่ชักช้า และรายงานให้คณะกรรมการสถาน • บำบัดรักษาทราบ

  41. 5. ผู้ป่วยจิตเวชซึ่งต้องรับโทษอยู่ในเรือนจำ 5.1 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 246(1),248 5.2 พ.ร.บ. สุขภาพจิต 2551 มาตรา 37,38

  42. 5.1 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 246(1), 248 • การทุเลาการบังคับโทษจำคุก ( มาตรา 246(1) ) - วิกลจริตในระหว่างจำคุก • การทุเลาการบังคับโทษประหารชีวิต ( มาตรา 248 ) - วิกลจริตก่อนถูกประหารชีวิต

  43. 5.2 พ.ร.บ. สุขภาพภาพจิต 2551 มาตรา 37,38 - สถานบำบัดรักษารับตัวไว้ควบคุมและรักษา - รายงานผลการรักษาและความเห็นต่อศาลภายใน 180 วัน และทุก 180 วัน - ผู้ป่วยจิตเวชหายหรือทุเลา รายงานผลการรักษา และความเห็นต่อศาลโดยไม่ชักช้า และรายงานให้คณะกรรมการสถานบำบัดรักษาทราบ

  44. • บทกำหนดโทษ - พ.ร.บ.สุขภาพจิต 2551 มาตรา 50 – 53

  45. คำถาม ?

More Related