1 / 44

การพัฒนามหาวิทยาลัย สู่อาเซียน

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้. การพัฒนามหาวิทยาลัย สู่อาเซียน. รศ.รังสรรค์ เนียมสนิท. รองอธิการบดี ฝ่ายวางแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ประเด็นนำเสนอ. บริบทอุดมศึกษากับ AEC AEC กับบทบาทของอุดมศึกษา ลปรร. กับ มข. ข้อสังเกต-ข้อเสนอแนะ. ปัจจัยแวดล้อม. การปฏิรูป การศึกษา โดย สกอ. แผน

oya
Download Presentation

การพัฒนามหาวิทยาลัย สู่อาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่อาเซียน รศ.รังสรรค์ เนียมสนิท รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. ประเด็นนำเสนอ • บริบทอุดมศึกษากับ AEC • AEC กับบทบาทของอุดมศึกษา • ลปรร. กับ มข. • ข้อสังเกต-ข้อเสนอแนะ

  3. ปัจจัยแวดล้อม การปฏิรูปการศึกษาโดย สกอ. แผน ระยะยาว สกอ. แผนฯ 11 Global Trends โครงสร้างประชากร AEC นโยบายทิศทางของรัฐ อุดมศึกษาไทย 21 stlearning skills วิกฤติการศึกษาไทย Worldranking university ประกัน คุณภาพการศึกษา รองศาสตราจารย์รังสรรค์ เนียมสนิท รองอธิการบดีฝ่ายแผนและพัฒนาบุคลากร

  4. แผน 11 มข. AEC 21st Century Skills คุณภาพอุดมศึกษาไทย + UNESCO Globalization + ภาวะโลกร้อน แผนฯ 11 สศช. บริบทภาค NE แผนระยะยาว สกอ. แผนระยะยาว มข. กระแส CSR/USR รองศาสตราจารย์รังสรรค์ เนียมสนิท รองอธิการบดีฝ่ายแผนและพัฒนาบุคลากร

  5. ASEAN Factsheet สมาชิกผู้ก่อตั้งปี 1967 • ไทย • มาเลเซีย • อินโดนีเซีย • ฟิลิปปินส์ • สิงคโปร์ สมาชิกเพิ่มเติม + บรูไน ดารุสซาลาม ปี 1984 + เวียดนาม ปี 1995 + ลาว ปี 1997 + พม่า ปี 1997 + กัมพูชา ปี 1999 ประชากร600 ล้านคน พื้นที่ 4.5 ล้าน ตาราง กม. ศาสนาหลัก อิสลาม พุทธ คริสต์ ฮินดู GDP รวม 1.5 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ การค้ารวม 1.8 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ

  6. ประเด็นท้าทายของอาเซียนประเด็นท้าทายของอาเซียน การพัฒนา โครงสร้างสถาบัน การแข่งขันของมหาอำนาจ สหรัฐ รัสเซีย จีน อินเดีย ญี่ปุ่น ความแตกต่าง ด้านเชื้อชาติศาสนา ระดับการพัฒนา ประชาคมอาเซียน การแข่งขันเพื่อแย่งชิง ทรัพยากร ตลาด การลงทุน ขาดความไว้เนื้อเชื่อใจ ความขัดแย้งใน ประวัติศาสตร์ ผลประโยชน์แห่งชาติ VS ภูมิภาค

  7. ข้อผูกพันการเปิดเสรีการค้าบริการข้อผูกพันการเปิดเสรีการค้าบริการ • บริการธุรกิจ • บริการทางการศึกษา • บริการสุขภาพ • บริการขนส่ง • บริการด้านนันทนาการ • บริการก่อสร้างและวิศวกรรม • บริการสื่อสาร • บริการสิ่งแวดล้อม • บริการด้านการท่องเที่ยว • บริการทางการเงิน • บริการจัดจำหน่าย • บริการอื่นๆ สาขาบริการทั้ง 12 ได้แก่

  8. สาขาวิชาชีพทั้ง 7 • วิศวกร( Engineering Services) • พยาบาล (Nursing Services) • สถาปนิก(Architectural Services) • การสำรวจ (Surveying Qualifications) • นักบัญชี (Accountancy Services) • ทันตแพทย์ (Dental Practitioners) • แพทย์ (Medical Practitioners)

  9. การศึกษาในอาเซียน: ความร่วมมือด้านอุดมศึกษา

  10. ความร่วมมือด้านอุดมศึกษาความร่วมมือด้านอุดมศึกษา AUN (ASEAN University Network) SEAMEO RIHED (South East Asian Minister of Education Organization Regional Centre for Education and Development) ASAIHL (Association of Southeast Asian Institutions of Higher Learning)

  11. กิจกรรมของ SEAMEO-RIHED รศ. ดร.เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์ บูรณาการการอุดมศึกษาใน SEA • ระบบการถ่ายโอนหน่วยกิต • เครือข่ายหน่วยงานประกันคุณภาพ กศ. • ประชุมผู้บริหารระดับสูง • วิจัยระบบประกันคุณภาพอุดมศึกษา การจัดการและกำกับนโยบายอุดมศึกษา • ประชุมปฏิบัติการเรื่องปฏิรูปโครงสร้างอุดมศึกษา • การศึกษาดูงานด้านการกำกับนโยบายมหาวิทยาลัย

  12. Association of Southeast AsianInstitutions of Higher Learning ดร. นินนาท โอฬารวรวุฒิ เลขาธิการ • เป็นสมาคม • แหล่งข้อมูล • โอกาสหารือกัน • แลกเปลี่ยน อจ., นศ. • บริการคำแนะนำ • สร้างความสัมพันธ์ • ยกย่องผลงานเด่น

  13. ยุทธศาสตร์ สกอ.

  14. การเตรียมตัวของ มข. สำหรับ AEC 1.ส่งเสริม สนับสนุน • กำหนดเป้าหมายอาจารย์นานาชาติ • เพิ่มรายวิชาที่สอนเป็นภาษาอังกฤษ • หลักสูตรนานาชาติ • เพิ่มรายวิชาภาษาประเทศเพื่อนบ้าน • กิจกรรมนานาชาติ AEC • การแลกเปลี่ยน นักศึกษา-อาจารย์ • ให้ทุนนักศึกษา AEC

  15. มีนาคม 2553 ประชุมสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น(สัญจร) ครั้งที่ 2/2553 ณ ประเทศจีน

  16. มกราคม 2554 ประชุมสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น(สัญจร) ครั้งที่ 1/2554 ณ ประเทศอินโดนีเซีย

  17. มกราคม 2555 ประชุมสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น(สัญจร) ณ ประเทศสหภาพเมียนมาร์

  18. เทศกาลอาหารและวัฒนธรรมนานาชาติ ประจำปี 2554

  19. วิทยาเขตหนองคาย ส่งเสริมความรู้ด้านภาษา สอนภาษาเวียดนามเด็กนักเรียน

  20. ศูนย์สารสนเทศนานาชาติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้บริการทรัพยากรสารสนเทศต่างประเทศ ตลอดจนสนับสนุนทักษะการเรียนรู้ด้านภาษา สังคม วัฒนธรรม สำหรับนักศึกษา บุคลากรและประชาชนในการผลักดันยุทธศาสตร์ระหว่างประเทศเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  21. โครงการวัฒนธรรมอาเซียนโครงการวัฒนธรรมอาเซียน ร่วมกับกระทรวงวัฒนธรรมดำเนินการโครงการวัฒนธรรมอาเซียน

  22. คณะพยาบาลศาสตร์ ส่งนักศึกษา ชั้นปีที่ 3 จำนวน 20 คน เพื่อไปแลกเปลี่ยนการฝึกปฏิบัติการพยาบาลกับต่างประเทศ • Guangxi Traditional Chinese Medicine University • Guangxi Medical University • Muhammadiyar School of Nursing, Yogyakarta ประเทศอินโดนีเซีย

  23. โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดกิจกรรมนักศึกษาเพื่อเชื่อมสัมพันธ์ไทย-ลาว ครั้งที่ 2 (ค่ายอาสาพัฒนาและบำเพ็ญประโยชน์) ระหว่างวันที่ 31 มีนาคม - 5 เมษายน 2555  ณ มหาวิทยาลัยสุภานุวงศ์ แขวงหลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 

  24. การประชุมเพื่อกำหนดกลยุทธ์เพื่อเตรียมความพร้อมของข้าราชการตำรวจในการรองรับการเข้าร่วมเพื่อเป็นสมาชิกประชาคมอาเซียนของประเทศไทย การประชุมเพื่อกำหนดกลยุทธ์เพื่อเตรียมความพร้อมของข้าราชการตำรวจในการรองรับการเข้าร่วมเพื่อเป็นสมาชิกประชาคมอาเซียนของประเทศไทย  มหาวิทยาลัยขอนแก่น กับ กองบัญชาการศึกษา สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้ลงนามในบันทึกความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาศักยภาพข้าราชการตำรวจ

  25. โครงการสานสัมพันธ์มิตรภาพแลกเปลี่ยนคณาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรกับ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว (คศบ)

  26. ร่วมกับสถานเอกอัครราชทูตในกลุ่มประเทศอาเซียน จัดงานเสวนาวิชาการและนิทรรศการวิชาการ “ก้าวใหม่ ก้าวใหญ่ ก้าวไปกับอาเซียน’’ (A LEAP FORWARD TO ASEAN)

  27. หารือแนวทางความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยสะหวันนะเขต สปป.ลาว 

  28. ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ และแลกเปลี่ยนนักศึกษา กับ Faculty of Public Health University of Hasanuddin ประเทศอินโดนิเซีย

  29.  วงโปงลางสินไซ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น แสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสานร่วมเผยแพร่ในงาน Kagoshima Asian Youth Festival ครั้งที่ 6 ณ เมือง Kagoshima ประเทศญี่ปุ่น

  30. Mr.Xie Fugen กงสุลจีน เดินทางเข้าพบ รศ.ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย อธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเจราจาหารือ ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างจีนกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น

  31. การเตรียมตัวของ มข. สำหรับ AEC 2.ปรับปรุงระบบ-โครงสร้างพื้นฐานรองรับ • ตั้งวิทยาลัยนานาชาติ • ตั้งกองวิเทศสัมพันธ์ • หอพักนักศึกษา • แฟลตอาจารย์ • ป้าย ถนน บรรยากาศ • เพิ่ม จ.วิเทศสัมพันธ์ให้คณะ • การประกันคุณภาพการศึกษา AUN • ปรับระบบเปิดเทอมรองรับ • ฝึกอบรมให้ความรู้บุคลากรและ นศ.

  32. ภาคการศึกษาใหม่ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2547 ภาคต้น กลางเดือนสิงหาคม-ธันวาคม กลางเดือนมกราคม-พฤษภาคม ภาคปลาย เดือนมิถุนายน-กรกฎาคม ภาคพิเศษ

  33. การเตรียมตัวของ มข. สำหรับ AEC 3.การศึกษา วิจัย • MOU ศึกษาดูงาน • วิจัยตลาดสินค้า AEC, Contract Farming • วิจัยการรับรู้ ผลกระทบ ยุทธศาสตร์ภาค • ศูนย์ข้อมูลลาว • ศูนย์อาเซียนศึกษา • ร่วมกับ มท. กับ กต. เรื่อง AEC • Cluster AEC

  34. มข.รับการยกย่องมหาวิทยาลัยต้นแบบความสำเร็จศูนย์ปฏิบัติการร่วมกลุ่มจังหวัด(ROC) กระทรวงมหาดไทย และขยายผล 7 มหาวิทยาลัยลงนามร่วมดำเนินการครอบคลุมทั่วประเทศ นำศักยภาพวิชาการหนุนไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียน

  35. วปท. เร่งตั้งศูนย์ประสานงานนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว หลังกลุ่มพงสะหวันกรุ๊ป ตอบรับการทำงานร่วมกัน เตรียมส่งพนักงานรับการฝึกอบรม 100 คน พร้อมสนับสนุนทุนการศึกษาระดับปริญญาโท-เอก

  36. ข้อสังเกต-ข้อเสนอแนะ • ความเป็นนานาชาติ/ กระแส AEC • การเตรียมความพร้อม • นโยบาย • ศักยภาพของ ม/ส • แผนปฏิบัติ

  37. ข้อสังเกต-ข้อเสนอแนะ การเตรียมการอย่างจริงจัง • คน:อาจารย์ นักศึกษา บุคลากรทั่วไป • ระบบ: แบบฟอร์ม กระบวนการ โครงสร้างพื้นฐาน พัฒนาความร่วมมือ • บรรยากาศ: กิจกรรมนานาชาติ การแลกเปลี่ยน การเรียนการสอน • ทัศนคติ: การยอมรับในความหลากหลายในวัฒนธรรม ความรู้ความเข้าใจ

  38. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ขอขอบคุณ การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่อาเซียน ขอขอบคุณ กระทรวงการต่างประเทศ สกอ. นพ.วิจารณ์ พานิช

More Related