1 / 28

AEC เป็น ตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน มี 5 องค์ประกอบหลัก คือ 1. การเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี

มาตรการสร้าง SME ไทยเข้มแข็ง เพื่อก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และกระบวนการนำเข้า-ส่งออก สินค้า.

ownah
Download Presentation

AEC เป็น ตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน มี 5 องค์ประกอบหลัก คือ 1. การเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มาตรการสร้าง SME ไทยเข้มแข็งเพื่อก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)และกระบวนการนำเข้า-ส่งออก สินค้า บรรยายโดย คุณพัชรดิษฐ์ สินสวัสดิ์กรรมการ สมาคมตัวแทนออกของรับอนุญาตไทยกรรมาธิการกิจการชายแดนไทย (อนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง : GMS)สภาผู้แทนราษฎรกรรมการส่งเสริมเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้านสภาหอการค้าแห่งประเทศไทยที่ปรึกษาด้านโลจิสติกส์และระเบียบกฎหมายศุลกากร

  2. AECเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน มี 5 องค์ประกอบหลัก คือ 1. การเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี 2. การเคลื่อนย้ายบริการเสรี 3. การเคลื่อนย้ายการลงทุนเสรี 4. กายเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี 5. การประกอบการค้าเสรี

  3. AEC ร่วมมือส่งเสริม 12 สาขาอุตสาหกรรม ได้แก่ ประมง เกษตร ผลิตภัณฑ์ยาง ผลิตภัณฑ์ไม้ สิ่งทอเครื่องนุ่มห่ม อีเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ การขนส่งทางอากาศ สุขภาพ e-ASEAN ท่องเที่ยว และโลจิสติกส์ รวมทั้ง อาหาร เกษตรและป่าไม้

  4. AECเป็นภูมิภาคที่มีการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ด้วย 2 มาตรการ 1.การจัดทำเขตการค้าเสรี (FTA) และความเป็นหุ้นส่วน ทางเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิดกับประเทศนอกอาเซียน 2.การมีส่วนร่วมในเครือข่ายห่วงโซ่อุปทานโลก

  5. เขตการค้าเสรี (FTA)ระหว่างไทยกับประเทศภาคีความตกลง ที่มีผลใช้บังคับแล้ว (11 ความตกลง) • เขตการค้าเสรี อาเซียน (ATIGA) • เขตการค้าเสรี อาเซียน-จีน (ACFTA) • เขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย (TINFTA) (กลุ่มสินค้าเร่งลดภาษี 82 รายการ) • เขตการค้าเสรี ไทย-ออสเตรเลีย (TAFTA) • เขตการค้าเสรี ไทย-นิวซีแลนด์ (TNZFTA) • เขตการค้าเสรี ไทย-ญี่ปุ่น (JETPA) • เขตการค้าเสรี อาเซียน-ญี่ปุ่น (AJCEP) • เขตการค้าเสรี อาเซียน-เกาหลี (AKFTA) • เขตการค้าเสรี อาเซียน-อินเดีย (AIFTA) • เขตการค้าเสรี อาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ (AANZFTA) • เขตการค้าเสรี ไทย-เปรู (TPEFTA) (กลุ่มสินค้าเร่งลดภาษี 4000 กว่ารายการ)

  6. AECมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน มี 2 องค์ประกอบ คือ 1. การพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) 2. การริเริ่มในการรวมกลุ่มของอาเซียน ทั้งในระดับ SME และ ประเทศสมาชิกเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน ของอาเซียน

  7. เป้าหมายการเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี ต้องมีปัจจัยสำคัญ 1. การลดหรือยกเลิกภาษีอากร 2. การยกเลิกอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษีอากร 3. กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (c/o) 4. การอำนวยความสะดวกทางการค้าศุลกากร มาตรฐานสินค้า 5. มาตรการสุขอนามัย และสุขอนามัยพืช

  8. AECกับการลด/ยกเลิกภาษีศุลกากรAECกับการลด/ยกเลิกภาษีศุลกากร • ยกเลิกภาษีนำเข้าสินค้า เป็นอัตราร้อยละ 0 จำนวน 54,467 รายการ สำหรับสมาชิกอาเซียน 6 ประเทศแรก เมื่อ 1 มกราคม 2553 • ลดภาษีนำเข้าสินค้า เป็นอัตราร้อยละ 0-5 สำหรับ กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม

  9. AECพัฒนากฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้าAECพัฒนากฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า 1. ใช้เกณฑ์สัดส่วน มูลค่าการผลิตในภูมิภาค (Regional Value Content) ร้อยละ 40 2. ใช้ระบบการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง (Self Certification) ให้กับผู้ประกอบการจดทะเบียน (ของ 4 ประเทศ : ไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย และบรูไน) สามารถรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าของตนเองได้

  10. AEC พัฒนาปรับปรุงด้านศุลกากรให้ทันสมัย เพื่ออำนวยความสะดวกการค้าและปกป้องสังคม 1. มาตรการใช้เวลาตรวจปล่อยสินค้า ภายใน 30 นาที 2. ใช้ระบบ e-Customs ในการตรวจปล่อยสินค้าตาม มาตรฐานสากล 3. ทำความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวก ในการขนส่งสินค้าผ่านแดน 4. พัฒนาระบบศุลกากรอีเล็กโทรนิกส์ณ จุดเดียว คือ National Single Window และ ASEAN Single Window 5. ให้การรับรองคู่มือการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านศุลกากร ของอาเซียน 6. ตกลงนำใบขนสินค้าของอาเซียน มาใช้ในการตรวจปล่อยสินค้า

  11. AEC ทำความตกลงยอมรับร่วมระหว่างภาคี เพื่อรับรองมาตรฐานสินค้า • สาขาผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอีเล็กโทรนิกส์ เมษายน 2545 • สาขาเครื่องสำอาง กันยายน 2546 เริ่มบังคับ มกราคม 2551 • สาขาอาหารแปรรูป และยานยนต์ ปี 2553 • สาขาผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณ และอาหารเสริม เภสัชกรรม

  12. AEC กับความร่วมมือด้านการขนส่ง • ทางอากาศ ตกลงให้เปิดน่านฟ้าเสรี (Open Skies) ระหว่างสนามบินนานาชาติ • ทางน้ำ รวมกลุ่มสาขาขนส่งทางทะเลของอาเซียนเป็น ตลาดเดียว (ASEAN Single Shipping Market) • ทางบก ดำเนินโครงการทางรถไฟสายสิงคโปร์-คุนหมิง และพัฒนาโครงข่ายทางหลวงอาเซียน เส้นทางผ่าน สิงคโปร์-มาเลเซีย-ไทย-กัมพูชา-เวียดนาม-ลาว-จีน และเส้นทางรถยนต์เชื่อม เวียดนาม-ลาว-ไทย-พม่า

  13. GMS กับความร่วมมือด้านการขนส่งทางบก (ทางรถยนต์) • เส้นทาง East-West Economic Corridor เวียดนาม-ลาว-ไทย-พม่า • เส้นทาง North-South Economic Corridor จีน-ลาว-ไทย-มาเลเซีย-สิงคโปร์

  14. ภาพแสดงแผนที่เส้นทางการขนส่งทางบกGMSภาพแสดงแผนที่เส้นทางการขนส่งทางบกGMS

  15. ภาพแสดงแผนที่เส้นทางการขนส่งทางบกGMSภาพแสดงแผนที่เส้นทางการขนส่งทางบกGMS

  16. GMS : Greater Mekong Subregionจัดตั้งขึ้นเมื่อปี 2535 ประกอบด้วย ไทย เมียนมาร์ ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีนใต้ (ยูนนาน) ADBให้การสนับสนุน ครอบคลุมพื้นที่ 2.3 ล้านตารางกิโลเมตร ประชากร 258 ล้านคน กรอบความร่วมมือ GMS 9 สาขา 1. คมนาคมขนส่ง 6. การเกษตร 2. โทรคมนาคม 7. สิ่งแวดล้อม 3. พลังงาน 8. การท่องเที่ยว 4. การลงทุน 9. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. การอำนวยความสะดวกทางการค้า

  17. ความตกลงการขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงความตกลงการขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (CROSS BORDER TRANSPORT AGREEMENT : CBTA) ว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งข้ามพรมแดน ซึ่งครอบคลุมถึงการตรวจปล่อยร่วม (Single Stop Inspection : SSI) ของเจ้าหน้าที่ของภาคีคู่สัญญาดินแดนติดต่อกัน ณ เขตพื้นที่ควบคุมร่วมกัน (Common Control Area : CCA) ของแต่ละฝ่าย กรมศุลกากร ของสมาชิก AEC ต้องทำระบบ National Single Window (NSW) โดยศุลกากร เป็น Gateway ของทุกหน่วยงานเกี่ยวข้องภายใน และเชื่อมโยงข้อมูลกับ ASW Gateway ของทุกประเทศสมาชิก

  18. คุณสมบัติความพร้อมของผู้ประกอบการค้าระหว่างประเทศคุณสมบัติความพร้อมของผู้ประกอบการค้าระหว่างประเทศ 1. ต้องจดทะเบียนนิติบุคคล กรมพัฒนาธุรกิจ 2. ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม กรมสรรพากร 3. ต้องยื่นจดทะเบียนผู้ประกอบการ กรมศุลกากร ทำบัตรลายเซ็นผู้มีอำนาจลงนาม หรือ ผู้รับมอบอำนาจ 4. ต้องติดตั้งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เชื่อมโยงระบบ e-Customs สมบูรณ์แบบ 5. ต้องเลือกใช้บริการตัวแทนออกของรับอนุญาต (LICENCED CUSTOMS BROKER) ที่มีมาตรฐานคุณภาพดีเลิศ

  19. ด่านศุลกากร บริการตามแนวชายแดน

  20. การประกอบธุรกิจที่น่าสนใจ กับประเทศเพื่อนบ้าน 1. TRADER 2. DISTRIBUTOR 3. PRODUCER 4. การบริการขนส่งสินค้า 5. ที่ปรึกษาทางการค้าและการลงทุน 6. อุตสาหกรรมอาหาร ผลิตผลทางการเกษตร 7. พลังงานทดแทน 8. การท่องเที่ยว

  21. โอกาสทองการลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้าน (ลาว-พม่า) 1. ยุทธศาสตร์ การเป็นศูนย์กลางการผลิตและการกระจายสินค้าเกษตร • ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง หรือ ACMECS • ตามเงื่อนไข CONTRACT FARMING • ผลิตผลทางการเกษตร ได้รับยกภาษีขาเข้า ไม่ต้องมี c/o • สินค้าเกษตร 10 รายการ คือ ถั่วเหลือง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ละหุ่ง มันฝรั่ง ข้าวโพดหวาน เม็ดมะม่วงหิมพานต์ ยูคาลิปตัส ถั่วลิสง ลูกเดือย และถั่วเขียวผิวมัน 2. ยุทธศาสตร์ การสนับสนุนการเกษตร และอุตสาหกรรมการเกษตรที่มีศักยภาพ • อุตสาหกรรมไม้และเฟอร์นิเจอร์ • อุตสาหกรรมยางพารา • อุตสาหกรรมมันสำปะหลัง และแปรรูป • อุตสาหกรรมแปรรูปข้าวโพด • อุตสาหกรรมข้าวเหนียว และแปรรูป

  22. 3. ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และ สปป.ลาว ควบคู่กัน 4. ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ และการขนส่งข้ามพรมแดน 5. ยุทธศาสตร การรับสิทธิพิเศษด้านภาษีศุลกากร (GSP) จากอเมริกา ยุโรป จีน ญี่ปุ่น ได้แก่ เซรามิก สิ่งทอ เสื้อผ้าสำเร็จรูป รองเท้า ชิ้นส่วนแปรรูปไม้ เฟอร์นิเจอร์ พลาสติก เครื่องใช้ไฟฟ้า อีเล็กทรอนิกส์ 6. อุตสาหกรรมแปรรูปวัตถุดิบทางการเกษตร

  23. ถาม-ตอบ ?

More Related