1 / 56

โดย ดร. ทัศตริน วรรณเกตุศิริ

การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. โดย ดร. ทัศตริน วรรณเกตุศิริ. หลักการเลือกประเด็น ปัญหาสำหรับ การวิจัย. เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจริง และผู้วิจัยมีความสนใจ ต้องการแก้ไขหรือหาคำตอบอย่างแท้จริง

otto-kline
Download Presentation

โดย ดร. ทัศตริน วรรณเกตุศิริ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน โดย ดร. ทัศตริน วรรณเกตุศิริ

  2. หลักการเลือกประเด็นปัญหาสำหรับการวิจัยหลักการเลือกประเด็นปัญหาสำหรับการวิจัย • เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจริง และผู้วิจัยมีความสนใจ ต้องการแก้ไขหรือหาคำตอบอย่างแท้จริง • ผู้วิจัยต้องมีความรู้ และ/หรือมีความถนัดในเรื่องที่จะวิจัย • สามารถสร้างเครื่องมือวิจัยเพื่อรวบรวมข้อมูล ต้องการกระบวนการวิจัยเพื่อให้ได้คำตอบ ไม่ใช่ปัญหาที่สามารถแก้ได้โดยการจัดการ • มีความชัดเจน ไม่คลุมเครือ ไม่กว้างจนเกินไป

  3. หลากหลายชื่อแต่ความหมายเดียวกันหลากหลายชื่อแต่ความหมายเดียวกัน • การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Research) • การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) • การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Research for Learning Development) • การวิจัยของครู หรือ การวิจัยโดยครู (Teacher-Based research) • การแสวงหาความรู้เชิงสะท้อนผลด้วยตนเอง (Self-Reflection) • การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research

  4. ความยากของการวิจัยในชั้นเรียน • ขาดความเข้าใจด้านกระบวนการวิจัย และสถิติที่ใช้ในการวิจัย • ขาดงบประมาณสนับสนุน • ไม่นำผลงานวิจัยไปใช้จริง • การขาดทักษะในการเขียนรายงานวิจัย

  5. www.onec.go.th

  6. www.thaiedresearch.org

  7. ความสัมพันธ์ระหว่าง กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนการสอน การวางแผนการวิจัย : P การวางแผนการสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอน พบปัญหาการเรียนรู้ ปฏิบัติตามแผน : A ประเมินผลการเรียนรู้ เก็บข้อมูล : O สะท้อนความคิด ความรู้สึกและข้อค้นพบ : R วิเคราะห์ผลการประเมิน นำผลการวิจัยไปใช้ปรับปรุงและพัฒนา เขียนรายงานการวิจัย

  8. ตัวอย่างหัวข้อการวิจัยในชั้นเรียนตัวอย่างหัวข้อการวิจัยในชั้นเรียน • ความรู้ • กระบวนการคิด • การแก้ปัญหา • ความคิดเห็น • ความรู้สึก • เจตคติ • ค่านิยม cognitive affective performance • ทักษะทางร่างกาย • ทักษะการปฏิบัติ • ทักษะการทำงานเดี่ยว/กลุ่ม การวิจัยเพื่อให้บรรลุจุประสงค์ของหลักสูตร

  9. ตัวแปรของการวิจัยในชั้นเรียนตัวแปรของการวิจัยในชั้นเรียน • ตัวแปรต้น คือ นวัตกรรม หรือสิ่งที่ครูสร้างขึ้น เพื่อใช้ในการพัฒนาผู้เรียนหรือแก้ปัญหาในชั้นเรียน เช่น วิธีการสอน ชุดกิจกรรม สื่อประกอบการสอน แผนการจัดการเรียนรู้ ฯลฯ • ตัวแปรตาม คือ สิ่งที่ต้องการศึกษาที่เป็นผลมาจาการใช้นวัตกรรม เช่น คะแนน ทักษะ ความพึงพอใจ กระบวนการคิด ฯลฯ

  10. การตั้งชื่อเรื่อง:

  11. การเขียนชื่อเรื่อง:

  12. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง “ระบบสมการ” ระหว่างกลุ่มที่เรียนโดยใช้วิธีสอนตามขั้นตอนการสอนของกาเย่กับการสอนแบบปกติ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง “ระบบสมการ” และเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างกลุ่มที่เรียนโดยใช้วิธีสอนตามขั้นตอนการสอนของกาเย่กับการสอนแบบปกติ

  13. เพื่อการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร และเจตคติในต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างโดยใช้การเรียนรู้การสอนแบบลงมือปฏิบัติและการจัดการเรียนรู้แบบปกติ โรงเรียนกำแพงแสนวิทยา เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติในวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การเรียนการสอนแบบลงมือปฏิบัติและการจัดการเรียนรู้แบบปกติ โรงเรียนกำแพงแสนวิทยา

  14. การศึกษาผลของการจัดกิจกรรมโดยใช้วิธีสอนของโพลยาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 การศึกษาผลของการจัดใช้กิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัสโดยใช้วิธีสอนตามแนวคิดของโพลยา ที่มีต่อเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

  15. ส่วนประกอบของรายงานการวิจัยส่วนประกอบของรายงานการวิจัย

  16. บทที่ 1บทนำ

  17. บทที่ 1:การเขียนความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

  18. บทนำ

  19. การตั้งวัตถุประสงค์ของการวิจัยการตั้งวัตถุประสงค์ของการวิจัย • การกำหนดสิ่งที่จะทำในการวิจัยในชั้นเรียน มี 2 สิ่งที่สำคัญ คือ • การพัฒนา/สร้างนวัตกรรม (เพื่อพัฒนา/สร้างอะไร สำหรับใคร เพื่อใช้สอนเรื่องอะไร) • การตรวจสอบผลการใช้นวัตกรรม เช่น เปรียบเทียบผล (คะแนน/ทักษะ/ความสามารถ) ก่อนและหลังการใช้นวัตกรรม และ/หรือการศึกษาความพึงพอใจ ความคิดเห็นต่อการเรียน

  20. บทที่ 1:การเขียนวัตถุประสงค์งานวิจัย

  21. บทที่ 1:การเขียนวัตถุประสงค์งานวิจัย

  22. บทที่ 1:การเขียนประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ทำให้นักเรียนสามารถ/มี ...........(ตัวแปรตาม)......... และนำไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้ ครูสามารถนำ .........(ตัวแปรต้น)...... ไปใช้เพื่อให้เกิด .......(ตัวแปรตาม)..... ได้ เป็นแนวทางในการพัฒนา ...........(ตัวแปรตาม)........ของผู้เรียนในพื้นที่หรือระดับอื่นๆ ได้

  23. บทที่ 1:การเขียนขอบเขตการวิจัย

  24. บทที่ 1:การเขียนตัวแปร

  25. บทที่ 1:การเขียนนิยามศัพท์เฉพาะ

  26. การเขียนบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

  27. บทที่ 2:การกำหนดหัวข้อ

  28. การเขียนบทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย

  29. รูปแบบของการวิจัย (Research Design) • ในการวิจัยในชั้นเรียน แบ่งได้ 3 กลุ่ม • กลุ่มที่ 1 การวิจัยก่อนมีแบบการวิจัยเชิงทดลอง (pre-experimental design) • กลุ่มที่ 2 การวิจัยเชิงกึ่งทดลอง (quasi-experimental design) • กลุ่มที่ 3 การวิจัยเชิงทดลอง (experimental design)

  30. Pre-experimental design เป็นวิจัยเชิงทดลองอย่างอ่อน (leaky design) วิจัยตัวแปรต่างๆ ที่มีอยู่แล้ว ไม่มีการทดลองจริง ไม่มีกลุ่มควบคุม (control group)มีเฉพาะกลุ่มทดลอง (experimental group) ควบคุมอิทธิพลของตัวแปรเกินได้น้อยกว่าแบบอื่นๆ

  31. One Shot Case Study X T2 • เลือกกลุ่มตัวอย่าง 1 กลุ่มหรือ 1 กรณี มีการทดลอง และทำการสังเกตหรือวัดผลเพื่อดูว่าตรงกับสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือไม่ • ง่าย สะดวก เหมาะสำหรับ action research เพื่อแก้ปัญหาเฉพาะกลุ่ม • ไม่มีการสุ่มตัวอย่าง ไม่สามารถอ้างอิงผลไปสู่กลุ่มอื่นได้ ไม่มีการควบคุมตัวแปร ผลที่ได้อาจไม่ได้มาจากตัวแปรต้นที่ต้องการศึกษา

  32. One-Group Pretest Posttest Design T1 X T2 • เลือกกลุ่มตัวอย่าง 1 กลุ่ม วัดตัวแปรตามก่อนและหลังการให้ตัวแปรต้น นำผลการวัดก่อนและหลังมาเปรียบเทียบกัน ดูว่าเพิ่มมากขึ้น หรือลดน้อยลง • สามารถทราบได้ว่าตัวแปรต้นให้ผลอย่างไร • การสอบก่อนทดลองอาจมีอิทธิพลต่อการสอบหลังการทดลอง แต่ไม่สามารถมั่นใจได้ว่าผลการสอบที่แตกต่างกัน มาจากตัวแปรต้นเพียงอย่างเดียวหรือไม่ อาจมาจากการมีวุฒิภาวะมากขึ้น/โตขึ้น

  33. Quasi-Experimental Design มีการทดลองแต่ไม่สมบูรณ์ ไม่มีการสุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เพราะกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนที่ถูกจัดให้เรียนในห้องเรียนปกติ ไม่สามารถควบคุมตัวแปรเกินได้

  34. Nonrandomized control group pretest posttest design E T1 X T2 C T1 ~X T2 เลือกกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม วัดตัวแปรตามก่อนทดลองเพื่อดูว่าสองกลุ่มไม่มีความแตกต่างกันก่อนให้ตัวแปรต้น มีกลุ่มควบคุมใช้เปรียบเทียบผลของการให้ตัวแปรต้น ถ้าสองกลุ่มมีความแตกต่างกัน ผลการทดลองที่ได้จะได้รับการกระทบกระเทือน

  35. บทที่ 3:การเขียนขั้นตอนการดำเนินการวิจัย

  36. บทที่ 3:การเขียนวิธีสร้างและพัฒนานวัตกรรม

  37. บทที่ 3:การเขียนแบบวิจัย

  38. บทที่ 3:การเขียนเกี่ยวกับเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

  39. บทที่ 3:การเขียนเกี่ยวกับการรวมรวมและวิเคราะห์ข้อมูล

More Related