1 / 35

แนวโน้มการศึกษาในทศวรรษหน้า ผศ.ดร.บรรจง เจริญสุข

แนวโน้มการศึกษาในทศวรรษหน้า ผศ.ดร.บรรจง เจริญสุข. แนวโน้มการศึกษาไทยในทศวรรษหน้า. ด้านบวก 1. หลักสูตรใหม่เกิดขึ้นจำนวนมาก 2. หลักสูตรนานาชาติมีแนวโน้มมากขึ้น 3. การจัดการศึกษามีความเป็นสากลมากขึ้น 4. ความเหลื่อมล้ำด้านโอกาสทางการศึกษาลดลง 5. โอกาสรับบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น.

oshin
Download Presentation

แนวโน้มการศึกษาในทศวรรษหน้า ผศ.ดร.บรรจง เจริญสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวโน้มการศึกษาในทศวรรษหน้าผศ.ดร.บรรจง เจริญสุข

  2. แนวโน้มการศึกษาไทยในทศวรรษหน้าแนวโน้มการศึกษาไทยในทศวรรษหน้า ด้านบวก 1. หลักสูตรใหม่เกิดขึ้นจำนวนมาก 2. หลักสูตรนานาชาติมีแนวโน้มมากขึ้น 3. การจัดการศึกษามีความเป็นสากลมากขึ้น 4. ความเหลื่อมล้ำด้านโอกาสทางการศึกษาลดลง 5. โอกาสรับบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น

  3. แนวโน้มการศึกษาไทยในทศวรรษหน้าแนวโน้มการศึกษาไทยในทศวรรษหน้า ด้านลบ 1. การเพิ่มช่องว่างด้านคุณภาพในการจัดการศึกษา 2. การผลิตบัณฑิตเกินความต้องการของตลาด 3. การสอนทักษะทางการคิดและทางอารมณ์ยังไม่มีคุณภาพ 4. การสอนคุณธรรม จริยธรรมยังไม่มีคุณภาพ 5. การสอนภาษาต่างประเทศยังไม่มีคุณภาพ

  4. กระแสหลักของการศึกษาไทยในอนาคตกระแสหลักของการศึกษาไทยในอนาคต 1. สถานศึกษาต้องเพิ่มความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างแท้จริง (Learning Organization) 2. โครงสร้างองค์กรเปลี่ยนจากการบังคับบัญชาเป็นโครงสร้างที่ก่อให้เกิดความร่วมมือและยืดหยุ่น 3. ผู้บริหารเปลี่ยนบทบาทจากผู้คุมกฏหรือควบคุมงานเป็นผู้สนับสนุนหรือเอื้ออำนวยความสะดวกด้านสารสนเทศ 4. ปรับปรุงกลยุทธ์บริหารจัดการโดยยึดหลักการให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างกัน

  5. กระแสหลักของการศึกษาไทยในอนาคตกระแสหลักของการศึกษาไทยในอนาคต 5. สร้างเครือข่ายพันธมิตรกับสถานศึกษาอื่น 6. ส่วนกลางยังมีแนวโน้มที่จะรวมศูนย์และเข้มงวดในการกำหนดเรื่องสำคัญๆ เพิ่มมากขึ้น 7. การบริหารโรงเรียนได้รับการกระจายอำนาจในเรื่องสำคัญเพิ่มขึ้น 8. กระแสเรียกของผู้มีส่วนได้เสียกับโรงเรียนทวีมากขึ้น

  6. กระแสหลักของการศึกษาไทยในอนาคตกระแสหลักของการศึกษาไทยในอนาคต 9. กระแสกดดันของสังคมต่อโรงเรียนเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง 10. โรงเรียนต้องแสดงบทบาทการเป็นสถาบันที่สำคัญของสังคมแห่งการเรียนรู้ 11. เกิดการเรียนรู้แบบไร้พรมแดนหรือการเรียนรู้แบบเสมือนโดยไม่จำกัดเวลา สถานที่ 12. หลักสูตรต้องสอดคล้องกับสถานศึกษาที่ทำงานหรือสถานประกอบการ

  7. การสร้างความรู้ความเข้าใจ การแก้ไขปัญหานิสิต นักศึกษา ในปัจจุบัน • ความรุนแรงในการรับน้องใหม่ • การแต่งกาย • การดื่มสุรา • การเล่นการพนัน

  8. สิ่งที่ต้องการพัฒนา 1. การเรียนรู้และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2. การเรียนรู้วิชาการ วิชาชีพ ในเชิงปฏิบัติจริง 3. การสร้างคุณลักษณะผู้ประกอบการ (ความเป็นผู้ประกอบการ) 4. ความสามารถทางภาษาและวัฒนธรรม

  9. สิ่งที่ต้องการพัฒนา (ต่อ) 5. พหุวัฒนธรรมและสันติวิธีในการแก้ปัญหา 6. ค่านิยมไทย ประเพณี วัฒนธรรม 7. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 8. สิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตย 9. จิตสำนึกด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม

  10. สิ่งที่ผู้บริหารโรงเรียนพึงมีสิ่งที่ผู้บริหารโรงเรียนพึงมี 1. คิดเป็น คิดเชิงวิเคราะห์ (เหมือนเหรียญ 2 หน้า) และคิดเชิงระบบ (mind map) 2. เข้าใจ เรียนรู้ให้ทันโลก จะได้ไม่รู้น้อยกว่านักเรียน 3. ยอมรับการเปลี่ยนแปลง 4. ทำงานเป็นทีมเวิร์ค

  11. จุดเน้นอุดมศึกษาโลก 1. วิชาการ : แนวทางการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ : การเฟ้นหาตัวนักศึกษาเชิงรุก : กระบวนการสร้างความเป็นเลิศในการวิจัย 2. โครงสร้างและการบริหาร : การทำงานในลักษณะภาคีเครือข่ายและ เครือข่ายการเรียนรู้ตลอดชีวิต : การส่งเสริมความหลากหลายในมิติต่างๆ

  12. จุดเน้นอุดมศึกษาโลก (ต่อ) 3. วิวัฒนาการด้านสังคมและความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ (กับเจตนารมณ์ของอุดมศึกษา) : สนับสนุนประชาชนให้บริการสังคมในรูปแบบต่างๆ : การสร้างกิจกรรมและบรรยากาศในมหาวิทยาลัยเพื่อเอื้อต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความมั่นคงในตัวนักศึกษา : การเตรียมความพร้อมของนักศึกษาและเตรียมนักศึกษาท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์

  13. แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับบริบททางการศึกษาแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับบริบททางการศึกษา แนวคิด 1. บริบทมีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาอยู่นอกเหนือการควบคุมของผู้บริหาร แต่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ต้องศึกษา เข้าใจเพื่อนำไปใช้ในการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคม 2. บริบทกับระบบมีความสำพันธ์กันเป็นอย่างยิ่ง การวิเคราะห์บริบทต้องพิจารณาในลักษณะที่เป็นระบบ ผู้วิเคราะห์บริบทจึงต้องเข้าใจระบบอย่างลึกซึ้ง 3. บริบททุกชนิดมีอิทธิพลและส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา ขณะเดียวกันบริบทแต่ละชนิดก็ต้องมีอิทธิพลหรือผลกระทบและความสัมพันธ์ระหว่างกันด้วย

  14. ความหมายของบริบท บริบท เป็นเรื่องของกิจกรรมและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในหรือนอกองค์กร ลักษณะสำคัญของบริบท * เป็นเรื่องของสภาพ สภาวการณ์ สภาวะแวดล้อม เหตุการณ์ กิจกรรมที่เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอกองค์กร * มีผลต่อการบริหาร การตัดสินใจและพฤติกรรมของบุคคลและองค์การ - อาจทำให้องค์กรอยู่รอดหรือพัฒนาได้ - อาจนำไปสู่ความล้มเหลวในการบริหาร * บริบทกับสภาพแวดล้อมใช้แทนกันได้

  15. บริบทกับแนวคิดเชิงระบบบริบทกับแนวคิดเชิงระบบ * บริบทเป็นองค์ประกอบสำคัญในรูปแบบระบบ * บริบทมีความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาส่งผลต่อองค์กร * บริบททั้งภายในและภายนอกกับการบริหารองค์กรทางการศึกษามีผลกระทบซึ่งกันและกัน * บริบทส่งผลทั้งเกื้อหนุน – อุปสรรค ต่อความสำเร็จขององค์กร * ผู้บริหาร - ต้องใช้บริบทที่เกื้อหนุนเป็นโอกาส - เปลี่ยนแปลงบริบทที่เป็นอุปสรรคเป็นโอกาส

  16. บริบทกับสภาพแวดล้อม บริบท (Contacts) สภาพแวดล้อม (Environment) • องค์ประกอบทั้งหมด • เกิดหรืออยู่นอกองค์กร • ขอบข่ายกำหนดไว้ไม่ชัดเจน

  17. สภาพแวดล้อมกับองค์การสภาพแวดล้อมกับองค์การ องค์การ สภาพแวดล้อม (Environment)

  18. กำหนดภารกิจและผลผลิตที่คาดหวังขององค์การกำหนดภารกิจและผลผลิตที่คาดหวังขององค์การ ผู้ส่งตัวป้อนหรือ Input ให้ข้อมูลย้อนกลับ ต่อองค์กร ความสำคัญ ของบริบท มีอิทธิพลต่อกระบวนการขององค์การ

  19. จุดมุ่งหมายของการศึกษาบริบทจุดมุ่งหมายของการศึกษาบริบท * ทราบ เข้าใจสิ่งแวดล้อมรอบระบบคือการศึกษา * ทราบถึงอิทธิพลที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของระบบและผู้บริหาร * ผู้บริหารต้องจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการของบริบทหรือแก้ปัญหาที่บริบทประสบอยู่

  20. ประเด็นของการศึกษาบริบทประเด็นของการศึกษาบริบท 1. ใช้การกำหนดนโยบายและวางแผนทางการศึกษา 2. ใช้ในการนำนโยบายและแผนไปปฏิบัติ 3. ใช้ในการวินิจฉัย สั่งการ 4. ใช้ในการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผล

  21. คุณสมบัติของนักบริหารที่เอื้อต่อการนำบริบทมาใช้คุณสมบัติของนักบริหารที่เอื้อต่อการนำบริบทมาใช้ - เข้าใจธรรมชาติของบริบท - คาดการณ์บริบทในอนาคตได้ - กำหนดภาพอนาคตที่ต้องการขององค์การได้ - เลือกกลยุทธ์ในการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้ - ทำแผนเพื่อปรับตัวให้ทันความเปลี่ยนแปลงได้ - เข้าใจการเปลี่ยนแปลงขององค์กรหรือบริบทอย่างเป็นระบบ

  22. แบบขององค์กรที่อยู่รอดได้ในบริบทที่เปลี่ยนแปลงแบบขององค์กรที่อยู่รอดได้ในบริบทที่เปลี่ยนแปลง - มีหลายจุดหมายทำกิจกรรมได้หลายอย่าง - การติดต่อสื่อสารทั่วถึงทั้งองค์กร - โครงสร้างยืดหยุ่น รูปแบบไม่ตายตัว - การตัดสินใจอยู่ในรูปแบบกระจายอำนาจ - สร้างบริบทที่พึงประสงค์มากกว่าตอบสนองความต้องการของบริบท - เน้นการจัดการแบบมีส่วนร่วม - ปรับปรุงผลผลิตและกระบวนการทำงานให้สอดรับการเปลี่ยนแปลงของบริบท

  23. บริบทกับระบบ การศึกษาระบบ จะต้องศึกษาทั้งองค์ประกอบของระบบ หน้าที่ ความสัมพันธ์ และผลกระทบ ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกระบบ ที่ส่งผลต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้

  24. ภาพแสดงระบบ Environment Contexts Input Process Output Contexts Feedback Contexts Environment

  25. สรุปลักษณะที่สำคัญของระบบสรุปลักษณะที่สำคัญของระบบ 1. ระบบคือส่วนหรือองค์ประกอบ เป็นหนึ่งเดียว 2. ประกอบด้วยระบบใหญ่และระบบย่อย เช่น - หน่วย (Unit) - ระบบย่อย (Sub-System) - องค์ประกอบ (Element) - ส่วน (Past) (ต่อ)

  26. สรุปลักษณะที่สำคัญของระบบ (ต่อ) 3. องค์ประกอบย่อยหน้าที่ต่างกันแต่จุดหมายเดียวกัน 4. องค์ประกอบย่อยมีผลกระทบสัมพันธ์และพึ่งพาอาสัยกัน 5. องค์ประกอบย่อยมีเขตแดนแต่ไม่คงที่ตายตัว

  27. ตารางการวิเคราะห์บริบทภายในและภายนอกตารางการวิเคราะห์บริบทภายในและภายนอก สภาพแวดล้อมภายนอก - สภาพทางเศรษฐกิจ - สภาพแวดล้อมทางสังคม - สภาพแวดล้อมทางการศึกษา - สภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยี - สภาพแวดล้อมเกี่ยวกับประชากร สภาพแวดล้อมภายใน - ทัศนของสถาบัน - หลักสูตรสถานศึกษา - นักเรียนนักศึกษา - บุคลากร - อาคารสถานที่ - การเงิน

  28. ประเภทของระบบ 1. ประเภทระบบ - ระบบ (Close System) เฉพาะบุคคลภายในระบบเท่านั้น - ระบบ (Open System) เปิดโอกาสให้นำตัวป้อนที่หลากหลายเข้าสู่ระบบ 2. ประเภทระดับ - ระบบรูปธรรม : วัตถุ/ด้วยระบบที่สัมผัสได้ - ระบบนามธรรม : ระบบแนวคิด / จินตนาการ

  29. สภาวะของระบบ สภาวะไม่สมดุล สภาวะสมดุล - ระบบปรับตัวไม่สม่ำเสมอ - รับเร็ว - ช้าเกินไป - มาก - น้อยเกินไป - ปรับตัว - ระบบย่อยสัมพันธ์กันดี - ตัวป้อนเข้าสู่ระบบสม่ำเสมอ ส่งตัวป้อน สภาวะแวดล้อม (Environment) ส่งตัวป้อน

  30. ทฤษฎีระบบทีเกี่ยวข้องกับการศึกษาทฤษฎีระบบทีเกี่ยวข้องกับการศึกษา 1. ทฤษฎีระบบทั่วไป 2. ทฤษฎีระบบของพาร์สัน 3. ทฤษฎีระบบของเกทเซลล์และกูบา

  31. ระบบการศึกษาตามแนวคิดเชิงระบบระบบการศึกษาตามแนวคิดเชิงระบบ - ระบบการศึกษาเป็นระบบของระบบสังคม - หน้าที่หลักคืออบรมสั่งสอนผู้เรียน - ประกอบด้วยระบบย่อยต่างๆ เช่น ระบบการเรียนการสอน การวัดผล - แต่ละระบบมีเส้นแบ่งเขตแดนของตนเอง - แบ่งปันระบบปิดและระบบเปิด - นำข้อมูลย้อนกลับจากบริบทมาปรับปรุง

  32. การศึกษาและวิเคราะห์ระบบหรือบริบทการศึกษาและวิเคราะห์ระบบหรือบริบท ศึกษาโครงสร้างและ องค์ประกอบ - ปรัชญาแนวคิดพื้นฐาน ศึกษาและวิเคราะห์ ระบบย่อย - ศึกษาปรัชญาและจุดหมาย - ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน - หาสาเหตุของปัญหา - นำผลไปกำหนดจุดมุ่งหมาย

  33. โอกาส (Opportunities) ........................................ ........................................ ........................................ จุดอ่อน (Weaknesses) ........................................ ........................................ ........................................ จุดแข็ง (Threats) ........................................ ........................................ ........................................ อุปสรรค (Strength) ........................................ ........................................ ........................................

  34. บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษาบริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา กฎหมาย กฎหมาย โลกาภิวัตน์ สังคม สื่อมวลชน เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง สาธารณสุข วัฒนธรรม ประชากร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

  35. จบ

More Related