1 / 31

การบรรยายพิเศษ เรื่อง “ประชาคมอาเซียน” ในการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “บทบาทของกองทัพบก

การบรรยายพิเศษ เรื่อง “ประชาคมอาเซียน” ในการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “บทบาทของกองทัพบก ในการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558” โดย นายอิศร ปกมนตรี เอกอัครราชทูตประจำกระทรวงการต่างประเทศ. ขอบเขตของการบรรยายพิเศษ - ความเป็นมาและแนวความคิดเกี่ยวกับอาเซียน

orson-cote
Download Presentation

การบรรยายพิเศษ เรื่อง “ประชาคมอาเซียน” ในการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “บทบาทของกองทัพบก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบรรยายพิเศษ เรื่อง “ประชาคมอาเซียน” ในการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “บทบาทของกองทัพบก ในการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558” โดย นายอิศร ปกมนตรี เอกอัครราชทูตประจำกระทรวงการต่างประเทศ

  2. ขอบเขตของการบรรยายพิเศษขอบเขตของการบรรยายพิเศษ - ความเป็นมาและแนวความคิดเกี่ยวกับอาเซียน - พัฒนาการของอาเซียนในช่วง 45 ปีที่ผ่านมา - กลไลความร่วมมือของอาเซียนในฝ่ายบริหาร - ความร่วมมือของอาเซียนในภาคอื่น - บทบาทของประเทศสมาชิกในการดำเนินงานของอาเซียน - ทิศทางของประชาคมอาเซียนหลังการเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจในปี 2558

  3. ความเป็นมาและแนวความคิดเกี่ยวกับอาเซียนความเป็นมาและแนวความคิดเกี่ยวกับอาเซียน - ก่อนที่จะมาเป็นอาเซียน - มรดกของยุคอาณานิคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - ความแตกต่างในด้านวัฒนธรรม โดยเฉพาะเชื้อชาติ และศาสนา

  4. - ความแตกต่างในระบอบการปกครองและอุดมการณ์ - ความแตกต่างในระบบและระดับพัฒนาการทางเศรษฐกิจ

  5. - สภาวะแวดล้อมในช่วงของการก่อตั้งอาเซียน - ความขัดแย้งทางอุดมการณ์ - ประสิทธิภาพของการป้องกันร่วมที่ลดลง - ความขัดแย้งระหว่างประเทศในภูมิภาค

  6. - แนวความคิดเกี่ยวกับการจัดตั้งอาเซียนโดยประเทศผู้ก่อตั้ง - เพื่อสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของภูมิภาค - เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน - เพื่อเสริมสร้างสวัสดิภาพของประชาชน - เพื่อการมีส่วนร่วมสู่สันติภาพ ความก้าวหน้า และความเจริญรุ่งเรืองในภูมิภาค

  7. - มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนเพื่อการสร้าง และไม่ใช่การทำลาย - เป็นองค์กรของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ที่ยึดมั่นในวัตถุประสงค์ หลักการ และประโยชน์ขององค์กร - หลักการพื้นฐานของอาเซียน 6 ประการ

  8. -ความเคารพซึ่งกันและกันในเรื่องเอกราช อธิปไตย ความเท่าเทียมกัน บูรณภาพแห่งดินแดน และเอกลักษณ์ แห่งชาติของประเทศสมาชิก - สิทธิของรัฐสมาชิกที่จะธำรงไว้ซึ่งความเป็นชาติ โดยปราศจากการแทรกแซงจากภายนอก การบ่อนทำลาย หรือการกดขี่

  9. - การไม่แทรกแซงกิจการภายในระหว่างประเทศสมาชิก แต่ละประเทศ - การยุติความแตกต่าง หรือข้อพิพาท โดยสันติวิธี - การปฏิเสธการคุกคาม หรือการใช้กำลัง และ - ความร่วมมืออย่างจริงจังระหว่างประเทศสมาชิก

  10. - สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือ แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2519

  11. CHAPTER IV : PACIFIC SETTLEMENT OF DISPUTES Article 13 The High Contracting Parties shall have the determination and good faith to prevent disputes from arising. In case disputes on matters directly affecting them should arise, especially disputes likely to disturb regional peace and harmony, they shall refrain from the threat or use of force and shall at all times settle such disputes among themselves through friendly negotiations.

  12. - พัฒนาการของอาเซียนในช่วง 45 ปีที่ผ่านมา - พัฒนาการของอาเซียนในช่วง 10 ปีแรก (2510 - 2520) - การทดแทนสมาคมแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และสนธิสัญญาป้องกันร่วมแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - การริเริ่มความร่วมมือในสาขาต่าง ๆ - การได้รับการยอมรับจากสากลโลก - การจัดตั้งสำนักเลขาธิการอาเซียนที่จาการ์ตา

  13. - อาเซียนกับปัญหากัมพูชา - อาเซียนหลังปัญหากัมพูชา - เขตการค้าเสรีอาเซียน - การเข้าเป็นสมาชิกของเวียดนาม (2538) ลาว (2540) พม่า (2540) และกัมพูชา (2542) - ธรรมนูญอาเซียน (2551) - ประชาคมอาเซียน 2558 (ปฏิญญาเซบู 2550) - ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  14. - กลไลความร่วมมือของอาเซียนในฝ่ายบริหาร - การประชุมหัวหน้ารัฐบาลอาเซียน - การประชุมหัวหน้ารัฐบาลอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ - การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนในด้านต่าง ๆ - การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสในด้านต่าง ๆ - การประชุมคณะกรรมการประจำอาเซียน

  15. - การประชุมคณะผู้แทนอาเซียน - การประชุมคณะทำงานในด้านต่าง ๆ - การประชุมเฉพาะกิจในด้านต่าง ๆ

  16. - กลไลความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจาและอื่น ๆ - การประชุมกับประเทศคู่เจรจา - การประชุมว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมือง และความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก - การประชุมกับจีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ (อาเซียน + 3) - ความร่วมมือเศรษฐกิจเอเชียและแปซิฟิก (เอเปค)

  17. - เอเชีย - ยุโรป (อาเซ็ม) - อาเซียน - อเมริกาใต้ (เฟียแลค) - เอเชีย - ตะวันออกกลาง (อาเม็ด)

  18. - กลไลความร่วมมือของอาเซียนในภาคอื่น - ฝ่ายนิติบัญญัติ การประชุมสมัชชารัฐสภาอาเซียน - ภาคเอกชน การประชุมหอการค้าและอุตสาหกรรม - นอกภาครัฐ

  19. - บทบาทของประเทศสมาชิกในการดำเนินงานของอาเซียน - ประเทศไทย (สมาชิกผู้ก่อตั้ง) - นโยบายต่างประเทศของรัฐบาลชุดต่าง ๆ - นโยบายต่างประเทศของรัฐบาลชุดปัจจุบัน ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับอาเซียน

  20. สร้างความสามัคคีและส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสร้างความสามัคคีและส่งเสริมความร่วมมือระหว่าง ประเทศอาเซียน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการจัดตั้งประชาคม อาเซียน และส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศอื่น ๆ ในเอเชีย ภายใต้กรอบความร่วมมือด้านต่าง ๆ และเตรียมความพร้อม ของทุกภาคส่วนในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และความมั่นคง

  21. ใช้ประโยชน์จากโครงข่ายคมนาคมขนส่งในภูมิภาคใช้ประโยชน์จากโครงข่ายคมนาคมขนส่งในภูมิภาค อาเซียนและอนุภูมิภาคให้เป็นประโยชน์ต่อการขยายเศรษฐกิจ ทั้งการผลิตและการลทุน โดยให้ความสำคัญในการพัฒนา จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่อยู่ตามแนวระเบียบเศรษฐกิจและ เมืองชายแดน - ขอบเขตของบทบาทของไทยในปัจจุบัน

  22. - บรูไน (2527) - การมีส่วนร่วมในอดีต - ขอบเขตของบทบาทในปัจจุบัน - กัมพูชา (2542) - การมีส่วนร่วมในอดีต - ขอบเขตของบทบาทในปัจจุบัน

  23. - อินโดนีเซีย (สมาชิกผู้ก่อตั้ง) - การมีส่วนร่วมในอดีต - ขอบเขตของบทบาทในปัจจุบัน - ลาว (2540) - การมีส่วนร่วมในอดีต - ขอบเขตของบทบาทในปัจจุบัน

  24. - มาเลเซีย (สมาชิกผู้ก่อตั้ง) - การมีส่วนร่วมในอดีต - ขอบเขตของบทบาทในปัจจุบัน - พม่า (2540) - การมีส่วนร่วมในอดีต - ขอบเขตของบทบาทในปัจจุบัน

  25. - ฟิลิปปินส์ (สมาชิกผู้ก่อตั้ง) - การมีส่วนร่วมในอดีต - ขอบเขตของบทบาทในปัจจุบัน - สิงคโปร์ (สมาชิกผู้ก่อตั้ง) - การมีส่วนร่วมในอดีต - ขอบเขตของบทบาทในปัจจุบัน

  26. - เวียดนาม (2538) - การมีส่วนร่วมในอดีต - ขอบเขตของบทบาทในปัจจุบัน

  27. - ทิศทางของประชาคมอาเซียนภายหลังปี 2558 - ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ - ความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง - ความร่วมมือด้านสังคมและวัฒนธรรม - สถานะของอาเซียนในประชาคมระหว่างประเทศ

  28. คำแนะนำสำหรับการเตรียมการของหน่วยงานคำแนะนำสำหรับการเตรียมการของหน่วยงาน ด้านความมั่นคงของไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

More Related