1 / 69

ระดับอุดมศึกษา

การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม. K hon. ระดับอุดมศึกษา. K aen. U niversity. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ( องค์กรมหาชน). วัตถุประสงค์ของการประเมิน. วัตถุประสงค์ทั่วไป. เพื่อให้ทราบระดับคุณภาพของสถานศึกษาในการดำเนินภารกิจต่างๆ

orien
Download Presentation

ระดับอุดมศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม Khon ระดับอุดมศึกษา Kaen • University สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน)

  2. วัตถุประสงค์ของการประเมินวัตถุประสงค์ของการประเมิน วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อให้ทราบระดับคุณภาพของสถานศึกษาในการดำเนินภารกิจต่างๆ เพื่อกระตุ้นเตือนให้สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทราบความก้าวหน้าของพัฒนาการคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อรายงานระดับคุณภาพและพัฒนาการในด้านคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาต่อสาธารณชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  3. วัตถุประสงค์ของการประเมินวัตถุประสงค์ของการประเมิน วัตถุประสงค์เฉพาะ เพื่อตรวจสอบยืนยันสภาพจริงในการดำเนินงานของสถานศึกษา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ช่วยสะท้อนความแตกต่างของแต่ละสถานศึกษาที่แสดงถึงอัตลักษณ์ รวมทั้งผลสำเร็จของการดำเนินการ เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพและพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษามีทิศทางที่สอดคล้องกันในการประเมินคุณภาพภายนอกกับการประเมินคุณภาพภายใน เพื่อสร้างความร่วมมือและมีเป้าหมายร่วมกัน เชื่อมโยงการดำเนินงานอยู่การพัฒนาคุณภาพร่วมกัน เพื่อรายงานผลการประเมินคุณภาพ และประสิทธิภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษาให้ทราบโดยทั่วกัน

  4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ สถานศึกษามีการบริหารจัดการ และใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผล สถานศึกษา หน่วยงานบริหารการศึกษา และรัฐบาล มีข้อมูลที่ถูกต้องเป็นระบบในการกำหนดนโยบาย วางแผน และบริหารจัดการการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องเข้าสู่ระดับมาตรฐานสากล และมีความจำเป็นเลิศทางวิชาการ ตามอัตลักษณ์ของสถาบันอุดมศึกษา

  5. หลักการพัฒนาตัวบ่งชี้หลักการพัฒนาตัวบ่งชี้ มุ่งการประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบมากกว่าการประเมินปัจจัยนำเข้าและกระบวนการ ให้ความสำคัญกับลักษณะและประเภทของสถานศึกษา (สิ่งที่มี สิ่งที่เป็นไปได้ และสิ่งที่เป็นหัวใจ เน้นตัวบ่งชี้ทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ ตระหนักถึงความสำคัญของปัจจัย ข้อจำกัด ตลอดจนวัฒนธรรมและความเป็นไทย มีตัวบ่งชี้พื้นฐานเท่าที่จำเป็น โดยเพิ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ และตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม คำนึงถึงความเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในและการประกันคุณภาพภายนอก

  6. ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอกความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอก

  7. ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ประเมินอิงเกณฑ์ตามจุดเน้นของสถานศึกษา ประเมินคุณภาพภายนอกจากผลการจัดการศึกษาเป็นหลัก ตาม ม. 51 โดยให้น้ำหนัก 75% ใช้ข้อมูลเฉลี่ย 3 ปี ประเมินโดยวิธีการและข้อมูล ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพโดยพิชญพิจารณ์ (Peer Review ) ประเมินโดยการยืนยันรายงานการประเมินตนเองที่ถูกต้องเชื่อถือได้ เพื่อกระตุ้นให้การประกันคุณภาพภายในมีความเข้มแข็ง ลดจำนวนตัวบ่งชี้ และจำนวนมาตรฐานสำหรับการประเมินภายนอก โดยถ่ายโอนตัวบ่งชี้และมาตรฐานเกี่ยวกับปัจจัยนำเข้าและกระบวนการให้อยู่ในระบบการประกันคุณภาพภายใน

  8. ตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับอุดมศึกษา

  9. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน (15 ตัวบ่งชี้) เป็นตัวบ่งชี้ที่ประเมินภายใต้ภารกิจหลักของสถานศึกษา บนพื้นฐานที่ทุกสถานศึกษาต้องปฏิบัติได้ ชี้ผลลัพธ์และผลกระทบได้ดี มีความเชื่อมโยงกับการประกันคุณภาพภายใน

  10. ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ( 1 ตัวบ่งชี้) • ตัวบ่งชี้ที่ประเมินผลผลิตของสถาบันอุดมศึกษาตาม • ปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา • ความสำเร็จตามจุดเน้น จุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนความเป็นเอกลักษณ์ ของสถานศึกษา • ได้รับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย

  11. ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ( 2 ตัวบ่งชี้) ตัวบ่งชี้ที่ประเมินผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยด้านการชี้แนะ ป้องกันหรือแก้ปัญหาของสังคม มหาวิทยาลัยเป็นผู้กำหนดแนวทางพัฒนาเพื่อร่วมกันชี้แนะ ป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมตามนโยบายของรัฐ มหาวิทยาลัยต้องเลือกนำเสนอผลการดำเนินการ 2 ประเด็น และผ่านความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสามารถปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาหรือปัญหาของสังคมที่เปลี่ยนไป

  12. รายละเอียดตัวตัวบ่งชี้เพื่อการประเมิน

  13. รายละเอียดตัวตัวบ่งชี้เพื่อการประเมิน

  14. รายละเอียดตัวตัวบ่งชี้เพื่อการประเมิน

  15. รายละเอียดตัวตัวบ่งชี้เพื่อการประเมิน

  16. รายละเอียดตัวตัวบ่งชี้เพื่อการประเมิน

  17. ข้อมูลการดำเนินงานที่ใช้ประกอบการพิจารณา ใช้ผลการดำเนินงานเฉลี่ย ย้อนหลัง 3 ปี ก่อนปีที่ประเมิน ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ ใช้ผลการดำเนินงาน 1 ปี ก่อนปีที่ประเมิน ตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพ ***ข้อมูลผลการดำเนินงานส่วนใหญ่ใช้ตามปีการศึกษา ยกเว้นบางตัวบ่งชี้มีการจัดเก็บข้อมูลตามปีปฏิทินให้ใช้ข้อมูลตามปีปฏิทิน

  18. วิธีการนับ • การนับจำนวนบทความจากผลงานวิจัยหรือผลงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ • นับได้เฉพาะ Article หรือ Conference Paper หรือ Review เท่านั้น • บทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการนับได้เฉพาะที่เป็น Full Paper • นับตามปีปฏิทิน หรือปีงบประมาณ หรือปีการศึกษา อย่างใดอย่างหนึ่งตามระบบการจัดเก็บข้อมูลของมหาวิทยาลัย • การตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ที่มากกว่า 1 ครั้ง ให้นับได้เพียง 1 ผลงาน

  19. วิธีการนับ • การนับจำนวนผลงานวิจัยหรือผลงานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ • นับจากวันที่นำผลงานฯ มาใช้และเกิดผลชัดเจน โดยที่ผลงานฯ นั้น จะดำเนินการในช่วงเวลาใดก็ได้ • ช่วงเวลาที่ใช้จะเป็นตามปีปฏิทิน หรือปีงบประมาณ หรือปีการศึกษา อย่างใดอย่างหนึ่งตามระบบเก็บข้อมูลของมหาวิทยาลัย • กรณีที่มีการนำไปใช้ประโยชน์มากกว่า 1 ครั้ง ให้นับได้เพียง 1 ครั้ง ยกเว้นมีการใช้ประโยชน์แตกต่างกันชัดเจนตามมิติของการใช้ประโยชน์ที่ไม่ซ้ำกัน

  20. วิธีการนับ • การนับจำนวนผลงานทางวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ • นับผลงานฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบของบทความวิชาการในวารสารวิชาการระดับชาติและ/หรือนานาชาติ หนังสือ ตำราทางวิชาการ โดยผ่านการพิจารณาจาก คกก.ผู้ทรงคุณวุฒิก่อนการตีพิมพ์ • ผลงานจะต้องเกินร้อยละ 50 ของชิ้นงาน • กรณีตีพิมพ์มากกว่า 1 ครั้ง ให้นับเพียง 1 ครั้งต่องานวิชาการ 1 ชิ้น

  21. วิธีการนับ • การนับจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย • ให้นับอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อในแต่ละปีการศึกษา ตามเงื่อนไข ดังนี้ • กรณีมีระยะเวลาทำงาน 9 เดือนขึ้นไป ให้นับเป็น 1 คน • กรณีมีระยะเวลาทำงาน 6 – 9 เดือน ให้นับเป็น 0.5 คน • กรณีมีระยะเวลาทำงานน้อยกว่า 6 เดือน ไม่สามารถนำมานับได้

  22. การคำนวณ • การคำนวณผลการดำเนินงาน 3 ปี • ผลการดำเนินงานที่นำมาคำนวณในรูปของสัดส่วนและร้อยละ เมื่อคำนวณหารสัดส่วนของข้อมูล 3 ปี ใช้สูตรการคำนวณ ดังนี้

  23. การคำนวณ • การคำนวณค่าคะแนน • ให้คำนวณตามผลการดำเนินงานจริง โดยใช้ผลการดำเนินงานที่กำหนดเป็น 5 คะแนน ตามเกณฑ์การให้คะแนน เป็นตัวเทียบในการคำนวณค่าคะแนน ดังนี้

  24. ตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามระดับอุดมศึกษา

  25. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านคุณภาพบัณฑิต • ตัวบ่งชี้ที่ 1 บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี • วิธีการคำนวณ • เกณฑ์การให้คะแนน: ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ กำหนดร้อยละ 100 เท่ากับ 5 คะแนน • หมายเหตุ: ไม่นับลาศึกษาต่อหรือมีงานทำอยู่แล้ว ผู้อุปสมบท และผู้ที่เกณฑ์ทหาร • (หักออกทั้งตัวตั้งและตัวหาร)

  26. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านคุณภาพบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอก ตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ • ด้านคุณธรรม จริยธรรม • + ด้านทักษะพิสัย • ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • ด้านทักษะทางปัญญา • ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ • ด้านความรู้

  27. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านคุณภาพบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอก ตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ • วิธีการคำนวณ • เกณฑ์การให้คะแนน: ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต • (คะแนนเต็ม 5) 27

  28. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านคุณภาพบัณฑิต • ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือ • เผยแพร่ • วิธีการคำนวณ • เกณฑ์การให้คะแนน: ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ กำหนดร้อยละ 25 เท่ากับ 5 คะแนน 28

  29. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านคุณภาพบัณฑิต • ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือ • เผยแพร่ ระดับคุณภาพบทความวิจัยที่ตีพิมพ์ แก้ไขตามประกาศ สมศ. ณ วันที่ 23 สิงหาคม 2555

  30. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านคุณภาพบัณฑิต • ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือ • เผยแพร่ ระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่ 30

  31. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านคุณภาพบัณฑิต • ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือ • เผยแพร่ • วิธีการคำนวณ • เกณฑ์การให้คะแนน: ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ กำหนดร้อยละ 50 เท่ากับ 5 คะแนน 31

  32. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านคุณภาพบัณฑิต • ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือ • เผยแพร่ ระดับคุณภาพบทความวิจัยที่ตีพิมพ์

  33. Quartile ที่ 1 ตั้งแต่ 1-4687 Quartile ที่ 2 ตั้งแต่ 4688-9374 Quartile ที่ 3 ตั้งแต่ 9375-14062 Quartile ที่ 4 ตั้งแต่ 14063- 18750

  34. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านคุณภาพบัณฑิต • ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือ • เผยแพร่ ระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่

  35. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ • ตัวบ่งชี้ที่ 5 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ • วิธีการคำนวณ • หมายเหตุ:จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำทั้งหมดใน แต่ละปีการศึกษา • โดยนับรวมอาจารย์และนักวิจัยประจำทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและ • ลาศึกษาต่อ ทั้งนี้ให้รายงานย้อนหลังสามปีจนถึงปีการศึกษาที่ประเมิน

  36. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ • ตัวบ่งชี้ที่ 5 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ กำหนดระดับคุณภาพงานวิจัยที่ตีพิมพ์

  37. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ • ตัวบ่งชี้ที่ 5 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่

  38. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ • ตัวบ่งชี้ที่ 5 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ • เกณฑ์การประเมิน : ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดร้อยละ • เท่ากับ 5 คะแนนจำแนกตามกลุ่มสาขาวิชา ดังนี้ การคิดคะแนนระดับคณะ: ให้นำคะแนนที่คิดได้ของแต่ละกลุ่มสาขาวิชามาหาค่าเฉลี่ย และการคิดคะแนนระดับสถาบันให้นำคะแนนที่คิดได้ใน แต่ละคณะมาหาค่าเฉลี่ย

  39. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ • ตัวบ่งชี้ที่ 6 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ • วิธีการคำนวณ • เกณฑ์การให้คะแนน: ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดร้อยละ 20 • เท่ากับ 5 คะแนนทุกกลุ่มสาขาวิชา

  40. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ • ตัวบ่งชี้ที่ 7 ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ • วิธีการคำนวณ • เกณฑ์การให้คะแนน: ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดร้อยละ 10 • เท่ากับ 5 คะแนนทุกกลุ่มสาขาวิชา • - นับตำราที่มีการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ • - ได้รับการเผยแพร่(แล้วเสร็จในปีการศึกษาที่ประเมิน) • - นับตำราที่ใช้ขอตำแหน่งวิชาการ(ผศ. รศ. ศ.) แต่ต้องผ่านการอนุมัติตำแหน่งทาง • วิชาการในปีงบประมาณ

  41. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ • ตัวบ่งชี้ที่ 7 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ระดับคุณภาพผลงานวิชาการ

  42. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม • ตัวบ่งชี้ที่ 8 ผลการนำความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ใน • การพัฒนาการเรียน การสอนหรือ การวิจัย • วิธีการคำนวณ • เกณฑ์การให้คะแนน: ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดร้อยละ 30 • เท่ากับ 5 คะแนน • * กรณีใช้ในการเรียนการสอนต้องมีแผนการสอนที่ระบุเนื้อหาของหัวข้อการบริการวิชาการหรือวิจัย อย่างชัดเจน

  43. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม • ตัวบ่งชี้ที่ 9 การเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก • ประเด็นการพิจารณา • มีการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนหรือองค์กร • บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 • ชุมชนหรือองค์กรมีผู้นำหรือสมาชิกที่มีการเรียนรู้และดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง • ชุมชนหรือองค์กรสร้างกลไกที่มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน โดยคงอัตลักษณ์ และวัฒนธรรมของชุมชนหรือองค์กร • มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์สร้างคุณค่าต่อสังคม หรือชุมชน/องค์กรมีความเข้มแข็ง • * ยกตัวอย่าง 1 โครงการ/กิจกรรม

  44. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม • ตัวบ่งชี้ที่ 9 การเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก เกณฑ์การประเมิน

  45. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม • ตัวบ่งชี้ที่ 10 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม • ประเด็นการพิจารณา • มีการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) • บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 • มีการดำเนินงานสม่ำเสมออย่างต่อเนื่อง • เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อชุมชน • ได้รับการยกย่องระดับชาติและ/หรือนานาชาติ เกณฑ์การประเมิน

  46. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม • ตัวบ่งชี้ที่ 11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม • ประเด็นการพิจารณา • การมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถาบันที่ก่อให้เกิดวัฒนธรรมที่ดี • อาคารสถานที่ สะอาดถูกสุขลักษณะ และตกแต่งอย่างมีความสุนทรีย์ • ปรับแต่งและรักษาภูมิทัศน์ให้สวยงาม สอดคล้องกับธรรมชาติ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • มีพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เอื้อและส่งเสริมต่อการจัดกิจกรรม และมีการจัดกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ • ระดับความพึงพอใจของบุคลากรและนักศึกษาไม่ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

  47. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม • ตัวบ่งชี้ที่ 11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม เกณฑ์การประเมิน

More Related