1 / 76

สถานศึกษากับการประกันคุณภาพ

สถานศึกษากับการประกันคุณภาพ. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน). www.onesqa.or.th. โรงเรียนที่ประกันคุณภาพ. คืออะไร.

oni
Download Presentation

สถานศึกษากับการประกันคุณภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถานศึกษากับการประกันคุณภาพสถานศึกษากับการประกันคุณภาพ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) www.onesqa.or.th

  2. โรงเรียนที่ประกันคุณภาพโรงเรียนที่ประกันคุณภาพ คืออะไร โรงเรียนที่ทำเรื่องการประกันคุณภาพ คือ โรงเรียนที่ต้องการสร้างความมั่นใจให้กับสังคม และผู้รับบริการว่าจะดำเนินกิจการในโรงเรียนอย่างมีคุณภาพ ครบถ้วนทุกด้าน

  3. พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ กล่าวถึงเรื่องการประกันคุณภาพไว้อย่างไร ในหมวด ๖ มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา ๔๗-๕๑

  4. เจตนารมณ์ของ หมวด ๖ ๑. การประกันคุณภาพ เป็นเครื่องมือของการ บริหาร และการกระจายอำนาจ ๒. มาตรฐานการศึกษา ต้องสอดคล้องกับ เจตนารมณ์ของพ.ร.บ. ๓. การกำหนดมาตรฐานและหลักเกณฑ์ของ ระบบประกันคุณภาพเป็นหน้าที่ของหน่วยงาน ระดับประเทศ

  5. เจตนารมณ์ของ หมวด ๖ ๔. การประกันคุณภาพภายใน เป็นหน้าที่ของ สถานศึกษา โดยความร่วมมือจากชุมชน และสนับสนุนจากต้นสังกัด ๕. การประกันคุณภาพภายนอกเป็นหน้าที่ของ องค์กรอิสระ ๖. การนำผลประเมินไปใช้ปรับปรุงการบริหาร เป็นหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา

  6. พ.ร.บ. การศึกษา สถานศึกษาทุกแห่ง มีการประกันคุณภาพภายใน และจัดทำรายงานประจำปีตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๘++ 19

  7. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายจาตุรนต์ ฉายแสง) ลงนามในประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยให้ใช้กับสถานศึกษาที่เปิดสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและปฐมวัยทุกสังกัด เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ 19

  8. สาระสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาสาระสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา ให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อ  พัฒนาคุณภาพการศึกษา  พัฒนาให้สถานศึกษามีมาตรฐานในการจัดการศึกษา

  9. การพัฒนาคุณภาพ (QC) กระบวนการพัฒนาสู่คุณภาพ กระบวนการ ปรับปรุง คุณภาพ การประกันคุณภาพ (QA) กระบวนการ ตรวจสอบ คุณภาพ การตรวจติดตามคุณภาพ (QAu) • การประเมินคุณภาพ • ภายใน (IQA) • ภายนอก (EQA)

  10. กฎกระทรวงฯ ข้อ ๓ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้คำนึงถึงการกำหนดมาตรฐานการศึกษาด้านผลผลิต ด้านปัจจัย และด้านกระบวนการ และการพัฒนาสู่มาตรฐานการศึกษาเพื่อพัฒนาสู่เป้าหมายการศึกษาและสร้างจิตสำนึกให้เห็นว่าการปรับปรุงคุณภาพจะต้องปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและเป็นหน้าที่ของทุกคน

  11. กฎกระทรวงฯ ข้อ ๔ การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาเป็นการติดตามความก้าวหน้าของการจัดการศึกษาและจัดทำรายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา การติดตามและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และการกำหนดมาตรการปรับปรุงคุณภาพสถานศึกษาที่ยังไม่ได้มาตรฐาน

  12. กฎกระทรวงฯ ข้อ ๕ การประเมินคุณภาพการศึกษา เป็นการทบทวนและประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา และให้สำนักงานทำการประเมินเพื่อรับรองมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประเมินผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในภาพรวม

  13. กฎกระทรวงฯ ข้อ ๖ ให้สถานศึกษานำผลประเมินคุณภาพภายนอกไปจัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาให้เป็นไปตามที่กำหนด

  14. กฎกระทรวงฯ ข้อ ๗ ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาซึ่งสถานศึกษาจะต้องดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

  15. การประกันคุณภาพ สถานศึกษาต้องทำอะไรบ้าง ตามมาตรา ๔๘ ๑. ต้องจัดให้มีระบบ ๒. ต้องดำเนินการต่อเนื่องเป็นปกติ ๓. ต้องทำรายงาน

  16. ระบบประกันคุณภาพที่เสนอแนะระบบประกันคุณภาพที่เสนอแนะ P – Plan D – Do C – Check A - Act P A D C

  17. ตัวบ่งชี้ของความเป็นปกติตัวบ่งชี้ของความเป็นปกติ ๑. ต้องทำทุกคน ๒. ต้องทำทุกวัน

  18. การจัดทำรายงานประจำปีการจัดทำรายงานประจำปี • เสนอหน่วยงานต้นสังกัด • เสนอหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • เปิดเผยต่อสาธารณะ • เตรียมรับการประเมินจาก สมศ.

  19. เนื้อหาในรายงานประจำปีเนื้อหาในรายงานประจำปี • ๑. ข้อมูลพื้นฐาน • ๒. สภาพการดำเนินงานของสถานศึกษา • ผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษา • และข้อเสนอแนะ • ๔. การพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต

  20. ๑. ข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลเกี่ยวกับ - สถานศึกษา - นักเรียน - บุคลากร - ทรัพยากร - ชุมชน - เกียรติยศ ชื่อเสียง /จุดเด่น

  21. ๒. สภาพการดำเนินงาน ของสถานศึกษา - วิสัยทัศน์ ปรัชญา เป้าหมายของ สถานศึกษา - แนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ - ระบบ โครงสร้างการบริหาร

  22. ๓. ผลการประเมินตามมาตรฐาน - มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน - มาตรฐานด้านการเรียนการสอน - มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการ - มาตรฐานด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ - มาตรฐานอื่นๆ

  23. ตัวอย่างตารางการจัดทำผลการประเมินตามมาตรฐานตัวอย่างตารางการจัดทำผลการประเมินตามมาตรฐาน การบรรลุมาตรฐานหรือเป้าหมายตามแผนในการพัฒนาผู้เรียนตามมาตรฐานที่ ๑

  24. ๔. การพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต • สรุปผลการประเมินคุณภาพที่ผ่านมา • จุดแข็ง และจุดอ่อนของสถานศึกษา • แนวทางพัฒนาสถานศึกษา • สิ่งที่ต้องการรับความช่วยเหลือ

  25. อุดมการณ์การ หลักการ และมาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐาน

  26. อุดมการณ์และหลักการการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานอุดมการณ์และหลักการการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน อุดมการณ์ของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ การจัดให้มีการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อพัฒนาเยาวชนไทยทุกคนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะที่เป็นพลเมืองไทยและพลเมืองของโลก เพื่อเป็นรากฐานที่พอเพียงสำหรับการใฝ่รู้ใฝ่เรียนตลอดชีวิต ทั้งเพื่อการพัฒนาหน้าที่การงานและการพัฒนาคุณภาพชีวิตส่วนตนและครอบครัว และเป็นรากฐานที่แข็งแกร่งสำหรับการสร้างสรรค์สังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืนในอนาคต

  27. หลักการสำคัญของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานหลักการสำคัญของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑. การพัฒนาผู้เรียนอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม เป็นผู้ที่มีจริยธรรมในการดำเนินชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและเผชิญความเปลี่ยนแปลงได้อย่างเท่าทันและชาญฉลาด

  28. หลักการสำคัญของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานหลักการสำคัญของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒. การจัดการศึกษาเพื่อความเป็นไทย มีความรักและภาคภูมิใจในท้องถิ่นและประเทศชาติ มีความรู้และทักษะพื้นฐานสำหรับการประกอบอาชีพสุจริต มีความมุ่งมั่น ขยัน อดทนในการทำงานควบคู่กับความใฝ่รู้และทักษะการแสวงหาความรู้ที่พอเพียงต่อการพัฒนางานอาชีพและคุณภาพชีวิตส่วนตน รวมทั้งมีลักษณะนิสัยและทัศนคติที่พึงประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีทั้งของครอบครัว ชุมชน สังคมไทยและสังคมโลก

  29. ๓. หลักการความเสมอภาคการจัดการศึกษาเพื่อให้คนไทยทั้งปวงมีสิทธิ์เสมอกันในการ รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า ๑๒ ปี อย่างทั่วถึงเท่าเทียมและเปี่ยมคุณภาพ โดยไม่เลือกชั้นวรรณะหรือความแตกต่างทางสังคมวัฒนธรรม หลักการสำคัญของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

  30. หลักการสำคัญของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานหลักการสำคัญของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๔. หลักการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน โดยเฉพาะการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา ไปยังคณะกรรมการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาเพื่อเสริมสร้างเอกลักษณ์ศักดิ์ศรีและการตอบสนองความต้องการท้องถิ่น

  31. หลักการสำคัญของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานหลักการสำคัญของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๕. หลักสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ และสัมพันธ์เชื่อมโยงกับมาตรฐานการอาชีวศึกษา และมาตรฐานการอุดมศึกษา

  32. มาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐาน

  33. มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน ๑. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ๒. ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ๓. ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ๔. ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์

  34. มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน (ต่อ) ๕. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร ๖. ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ๗. ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ๘. ผู้เรียนมีสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา

  35. มาตรฐานด้านการเรียนการสอน ๙. ครูมีคุณวุฒิ/ความรู้ ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชนได้ดี และมีครูเพียงพอ ๑๐. ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

  36. มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา ๑๑. ผู้บริหารมีภาวะผู้นำ และมีความสามารถในการบริหาร จัดการศึกษา ๑๒. สถานศึกษามีการจัดองค์กร โครงสร้างและระบบการ บริหารงานและพัฒนาองค์กรอย่างเป็นระบบครบวงจร ๑๓. สถานศึกษามีการบริหารและจัดการศึกษาโดยใช้ สถานศึกษาเป็นฐาน ๑๔. สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

  37. มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา (ต่อ) ๑๕. สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลาย ๑๖. สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติเต็มศักยภาพ

  38. มาตรฐานด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ ๑๗. สถานศึกษามีการรวบรวมและใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาในท้องถิ่น ๑๘. สถานศึกษามีการร่วมมือกันระหว่างบ้าน สถานศึกษา องค์กรทางศาสนา และสถาบันทางวิชาการ เพื่อพัฒนาวิถีการเรียนรู้ในชุมชน

  39. ตัวอย่างคำอธิบายและระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานตัวอย่างคำอธิบายและระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

  40. ๑. มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ (๑,๒)

  41. ๑. มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ (๑,๒)

  42. ๑. มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ (๑,๒)

  43. ๑. มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ (๑,๒)

  44. ๑. มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ (๑,๒)

  45. ๑. มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ (๑,๒)

  46. มาตรฐานด้านการเรียนการสอน ๑๐. ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมี ประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

  47. ๒. มาตรฐานด้านคุณภาพการเรียนการสอน ๑๐. ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

More Related