1 / 34

หลักสำคัญการประเมินค่างาน

ondrea
Download Presentation

หลักสำคัญการประเมินค่างาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักเกณฑ์การประเมินค่างานที่ ก.พ. กำหนดเป็นการประเมินคุณภาพงานของตำแหน่ง ซึ่งมีวิธีดำเนินการอย่างเป็นระบบในการจัดลำดับชั้นงาน เพื่อให้ได้ค่างานอย่างสมเหตุสมผลและเป็นธรรม โดยการวิเคราะห์ลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบ คุณภาพและความยุ่งยากของงานตามองค์ประกอบหรือปัจจัยการประเมินที่มีระดับการวัดที่กำหนดไว้เป็นมาตรฐานให้ถูกต้องเหมาะสม และสอดคล้องกับคุณภาพของงาน

  2. ทำไมต้องมีการประเมินค่างานเพื่อให้การกำหนดระดับตำแหน่งในของส่วนราชการต่างๆ เป็นไปอย่างมีมาตรฐานเป็นธรรม และไม่เหลื่อมล้ำกันระหว่างส่วนราชการและทุกตำแหน่งต้องเท่าเทียมกัน

  3. เมื่อไหร่ต้องมีการประเมินค่างาน1 มีการกำหนดตำแหน่งขึ้นใหม่ในหน่วยงาน2 หน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพงานเปลี่ยนไป3 ต้องจัดระดับตำแหน่งเพื่อกำหนดค่าตอบแทนที่เป็นธรรม

  4. หลักสำคัญการประเมินค่างานหลักสำคัญการประเมินค่างาน 1 ต้องเข้าใจงาน - ต้องมีการวิเคราะห์งาน 2 ประเมินที่งาน - มิใช่ตัวบุคคลที่ครองตำแหน่ง 3 มีมาตรฐาน-ต้องสะท้อนกับงานปัจจุบันและสอดคล้องกับระดับตำแหน่ง 4ไม่มีอคติ-เก็บข้อมูล วิเคราะห์และตีค่างานอย่างเป็นธรรม 5 ตรวจสอบให้แน่ใจ-ตรวจสอบความสัมพันธ์ทั้งแนวนอนและแนวดิ่ง

  5. ขั้นตอนการประเมินค่างานขั้นตอนการประเมินค่างาน ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นศึกษา ขั้นนำเสนอ

  6. กระบวนการประเมินค่างานกระบวนการประเมินค่างาน วิเคราะห์งาน JA แบบบรรยาย ลักษณะงาน การ ประเมิน ค่างาน วินิจฉัย ตีค่างาน (คณะกรรมการ) กำหนดระดับ ตำแหน่ง ยอมรับได้ Acceptable มีความยุติธรรม Felt-Fair

  7. ข้อมูลประกอบการพิจารณาประเมินค่างานข้อมูลประกอบการพิจารณาประเมินค่างาน ลักษณะงาน และหน้าที่ของ ตำแหน่ง แนวทาง/ หลักเกณฑ์ต่างๆ โครงสร้าง ภารกิจและ อัตรากำลัง ข้อมูลประกอบ การพิจารณา แผนการ กำหนด ตำแหน่ง สถิติผลงาน นโยบาย แผนงาน/ โครงการ

  8. ข้อมูลที่ใช้ประกอบการประเมินค่างานข้อมูลที่ใช้ประกอบการประเมินค่างาน 1 นโยบาย กลยุทธ์ ภารกิจ แผนงานโครงการของส่วนราชการ 2 โครงสร้างการจัดส่วนราชการและความสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่ ความรับผิดชอบของตำแหน่งกับหน้าที่ ความรับผิดชอบของส่วนราชการที่สังกัด รวมทั้งตำแหน่งอื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3. หน้าที่ความรับผิดชอบหลักของตำแหน่ง ปริมาณและคุณภาพของงานของตำแหน่งที่จะประเมิน และวัตถุประสงค์ใน การกำหนดตำแหน่ง - ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติงาน ความยุ่งยากในการแก้ไขปัญหา แนวทางการปฏิบัติงาน การใช้ความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพในการปฏิบัติงาน และขอบเขตกำกับตรวจสอบของผู้บังคับบัญชา 4 ผลงาน - สถิติผลงานของตำแหน่งที่ได้ดำเนินการที่ผ่านมา - แนวโน้มผลงานและความคุ้มค่าที่คาดว่าจะได้รับ 5 แผนการกำหนดตำแหน่งของหน่วยงาน 6 กฎหมายและหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง

  9. ข้อคำนึงในการประเมินค่างานข้อคำนึงในการประเมินค่างาน 1 ต้องมีความเข้าใจอย่างชัดเจนกับลักษณะงานที่ปฏิบัติของตำแหน่งที่จะประเมิน 2 พิจารณาเบื้องต้นก่อนว่าตำแหน่งนั้นตรงตามหลักเกณฑ์หรือข้อกฎหมายว่าสามารถ พิจารณากำหนดได้ การประเมินค่างานเป็นขั้นตอนสุดท้ายที่จะพิจารณากำหนด ระดับตำแหน่ง 3 ต้องทราบว่าตำแหน่งที่จะประเมินมีลักษณะงานที่จะนำเข้าประเมินตามหลักเกณฑ์ การประเมินค่างานของตำแหน่งประเภทใด 4 การพิจารณาประเมินค่างานต้องคำนึงถึง “งานของตำแหน่ง” เท่านั้น มิใช่ตัวบุคคล ที่ครองตำแหน่ง เนื่องจากไม่ใช่เป็นการประเมินค่าคน

  10. ข้อคำนึงในการประเมินค่างานข้อคำนึงในการประเมินค่างาน 5 ต้องปราศจากอคติ ผู้ประเมินจะต้องมีการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ตีค่างานโดยไม่นำ ความรู้สึกส่วนตัวมาเกี่ยวข้อง 6 การประเมินค่างานเพื่อการปรับระดับตำแหน่งให้สูงขึ้น จะทำเมื่อตำแหน่งเดิม มีหน้าที่ความรับผิดชอบ และคุณภาพของงานเปลี่ยนไปจากเดิมอย่างชัดเจน 7 การประเมินค่างานต้องพิจารณาเนื้องานที่ปฏิบัติจริงในปัจจุบัน 8 การกำหนดปัจจัยที่จะมากำหนดเปรียบเทียบเพิ่มเติม ควรได้มีการกำหนดและได้รับ การอนุมัติจากคณะกรรมการผู้มีอำนาจในการพิจารณาก่อนการประเมินค่างาน เพื่อ เกิดการยอมรับและเป็นมาตรฐาน

  11. รูปแบบและวิธีการประเมินค่างานรูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน วิธีการให้คะแนนองค์ประกอบ (Point Rating Method) : พิจารณางานภายใต้องค์ประกอบที่กำหนดไว้ และมีการกำหนดหน่วยวัดมาตรฐานไว้ กำหนด องค์ประกอบ กำหนด น้ำหนักคะแนน กำหนดระดับ คะแนน กระบานการ วิธีการให้ คะแนน องค์ประกอบ รูปแบบการวัด/ ประเมิน องค์ประกอบการวัด ไม่สัมพันธ์กัน องค์ประกอบการวัด ที่สัมพันธ์กัน การเทียบระดับ ตำแหน่ง

  12. รูปแบบและวิธีการประเมินค่างานรูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดองค์ประกอบที่จะให้คะแนน : ปัจจัยสำคัญของงานที่แสดงถึงความรับผิดชอบ ความยุ่งยาก และคุณภาพงาน ความรู้ (Know How) ความรู้ที่ใช้ในงาน Technical Know How ความรู้ทางวิชาการ Manegament Breadth ทักษะทางมนุษย์สัมพันธ์ Human Relation Skills การแก้ไขปัญหา (Problem Solving) ความอิสระในความคิด Thinking Environment ความยากง่ายในการคิด Thinking Challenge ระดับความรับผิดชอบ (Accountability) ความอิสระในการกระทำ Freedom to Act ขนาดความรับผิดชอบ Area to Impact (Magnitude) ผลกระทบที่มีต่องาน Nature Of Impact

  13. รูปแบบและวิธีการประเมินค่างานรูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดน้ำหนักของคะแนน เพื่อพิจารณางานตรงกับธรรมชาติของงาน • ความรับผิดชอบ 40 % • ความรู้ 30 % • การแก้ปัญหา 30 %

  14. การกำหนดระดับคะแนน : เป็นการจัดหน่วยวัดโดยกำหนดค่าคะแนนเป็นระดับ รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน

  15. รูปแบบและวิธีการประเมินค่างานรูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน ตารางเทียบระดับตำแหน่ง

  16. วิธีประเมินค่างานที่ ก.พ.นำมาใช้ ความรู้และทักษะที่จำเป็นในงาน ความสามารถในการแก้ปัญหา ภาระความรับผิดชอบ Point Rating Method องค์ประกอบ การประเมิน กำหนด ค่าคะแนน CSC Guide Chart เกณฑ์การกำหนด ระดับตำแหน่ง • ตำแหน่งประเภทบริหาร • ตำแหน่งประเภทวิชาการ • ตำแหน่งประเภททั่วไป

  17. วิธีการประเมินค่างานที่ ก.พ.นำมาใช้ เกณฑ์ประเมินค่างานที่ ก.พ.นำมาใช้ตาม พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือนg535

  18. การกำหนดค่าคะแนนในองค์ประกอบการกำหนดค่าคะแนนในองค์ประกอบ

  19. วิธีประเมินค่างานที่ ก.พ.นำมาใช้

  20. ตาม พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ระดับทรงคุณวุฒิ 901-1,240 การประเมินค่างานของตำแหน่งที่กำหนดค่าคะแนน ระดับทักษะพิเศษ 452-900 ระดับสูง 725-1,035 ระดับสูง ระดับเชี่ยวชาญ 631-900 ระดับอาวุโส ผลของการประเมินค่างาน ระดับชำนาญงาน ชำนาญการพิเศษ ระดับต้น ระดับต้น ระดับปฏิบัติงาน ระดับชำนาญการ ระดับปฏิบัติการ ทั่วไป วิชาการ อำนวยการ บริหาร

  21. การประเมินคุณภาพงานของตำแหน่งการประเมินคุณภาพงานของตำแหน่ง เป็นวิธีดำเนินการในการจัดลำดับชั้นงาน เพื่อให้ได้ค่างานอย่างสมเหตุสมผลและเป็นธรรม โดยการวิเคราะห์ลักษณะงาน หน้าที่และความรับผิดชอบ คุณภาพและความยุ่งยากของงานตามองค์ประกอบ การประเมินที่มีระดับการวัดที่กำหนดไว้เป็นมาตรฐาน K5 04 K4 M2 ใช้หลักเกณฑ์ การประเมินค่างาน ทั่วไป วิชาการ อำนวยการ ใช้ “โปรแกรมประเมินค่างาน”

  22. ตาม พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551หลักเกณฑ์การประเมินค่างานตาม ว.17/2552 ประกอบด้วย 3 หลักเกณฑ์ • หลักเกณฑ์ประเมินค่างานสำหรับตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการและระดับชำนาญการพิเศษ • หลักเกณฑ์ประเมินค่างานสำหรับประเภททั่วไป ระดับชำนาญงานและระดับอาวุโส • หลักเกณฑ์ประเมินค่างานสำหรับตำแหน่งประเภทอำนวยการระดับสูง ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญและระดับทรงคุณวุฒิและตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับทักษะพิเศษ

  23. ตาม พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 • หลักเกณฑ์ประเมินค่างานสำหรับตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการและระดับชำนาญการพิเศษ 2. หลักเกณฑ์ประเมินค่างานสำหรับตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงานและระดับอาวุโส เกณฑ์กำหนดระดับตำแหน่ง องค์ประกอบการประเมินค่างาน 4 ด้าน 1. หน้าที่และความรับผิดชอบ (30 คะแนน) 2. ความยุ่งยากของงาน (30 คะแนน) 3. การกำกับตรวจสอบ (20 คะแนน) 4. การตัดสินใจ (20 คะแนน) ชำนาญการพิเศษ คะแนน 80 ขึ้นไป อาวุโส คะแนน 80 ขึ้นไป ชำนาญการ คะแนน 65 ขึ้นไป ชำนาญงาน คะแนน 65 ขึ้นไป ประเภทวิชาการ ประเภททั่วไป

  24. ตาม พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 3.หลักเกณฑ์ประเมินค่างานสำหรับตำแหน่งประเภทอำนวยการ ระดับสูง ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ และระดับทรงคุณวุฒิ และตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับทักษะพิเศษ องค์ประกอบหลักในการประเมินค่างาน 3 ด้าน 1. องค์ประกอบหลักด้านความรู้และทักษะที่จำเป็นในงาน 2. องค์ประกอบหลักด้านความสามารถในการแก้ปัญหา 3. องค์ประกอบหลักด้านภาระรับผิดชอบ

  25. กระบวนงานและองค์ประกอบการประเมินค่าของงานกระบวนงานและองค์ประกอบการประเมินค่าของงาน กระบวนงาน Throt Ghpit Input Output องค์ประกอบที่ใช้ในกระบวนงาน 1. ความรู้และทักษะที่จำเป็นในงาน ความสามารถในการแก้ปัญหา ภาระรับผิดชอบ องค์ประกอบในการประเมิน ค่างาน 1. ความรู้และความชำนาญ 2. การบริหารจัดการ 3. การสื่อสารและ ปฏิสัมพันธ์ 4. กรอบของอำนาจและอิสระในความคิด 5. ความท้าทายใน การคิดแก้ปัญหา 6. อิสระในการปฏิบัติงาน 7. ผลกระทบจากการปฏิบัติงาน 8. ลักษณะงานที่ปฏิบีติของตำแหน่ง

  26. คำสั่งและการประมวลผลในโปรแกรมประเมินค่างานคำสั่งและการประมวลผลในโปรแกรมประเมินค่างาน การประเมินด้วย 20 ข้อคำถามในโปรแกรมประเมินค่างานนั้น แต่ละคำตอบจะไปเชื่อมโยงกับปัจจัยในเอกสารตารางการประเมินค่างานที่ ก.พ.กำหนด (CSC Gudde Chart)เพื่อไปคำนวณเป็นคะแนน ตามที่ใช้จัดระดับขั้นงานตามประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง ตามมาตรา 45 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 ได้อย่างถูกต้อง เป็นธรรมและเป็นมาตรฐานเดียวกัน

  27. เกณฑ์การกำหนดระดับตำแหน่งเกณฑ์การกำหนดระดับตำแหน่ง 1. ค่าคะแนนในการประเมินค่างาน 1.1 ตำแหน่งประเภทอำนวยการ - ระดับสูง ได้คะแนน 725-1035 คะแนน 1.2 ตำแหน่งประเภทวิชาการ - ระดับเชี่ยวชาญ ได้คะแนน 531-900 คะแนน - ระดับทรงคุณวุฒิ ได้คะแนน 901-1,240 คะแนน 1.3 ตำแหน่งประเภททั่วไป - ระดับทักษะพิเศษ ได้คะแนน 452-900 คะแนน 2. ผลการประเมินของแต่ละองค์ประกอบมีความสอดคล้องกัน ผลของการประเมินค่างาน

  28. การประเมินค่างานโดยใช้โปรแกรมประเมินค่างานการประเมินค่างานโดยใช้โปรแกรมประเมินค่างาน เป็นเครื่องมือช่วยในการพิจารณากำหนดตำแหน่งของส่วนราชการเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ภายใต้องค์ประกอบหลักในการประเมินค่างาน 3 ด้าน 8 องค์ประกอบย่อย และการวัดความสัมพันธ์ในการประเมินค่างาน ซี่งประกอบด้วยคำถาม รวม 20 ข้อ

  29. ข้อคำถาม 20 ข้อ ในโปรแกรมประเมินค่างาน 1. ความรู้และทักษะที่จำเป็นในงาน ข้อ 1 ระดับการศึกษา ข้อ 2 ประสบการณ์ในงานที่เกี่ยวข้อง ข้อ 3 ความรู้ที่จำเป็นในงาน ข้อ 4 ความรู้ ความสามารถ และทักษะในเชิงเทคนิค ข้อ 5 การบริหารจัดการ ข้อ 6 ลักษณะของการทำงานในทีม ข้อ 7 การวางแผน 1. ความรู้และความชำนาญ 2. การบริหารจัดการ 3. การสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ ข้อ 8 มนุษย์สัมพันธ์ที่จำเป็นในงาน ข้อ 9 การติดต่อสื่อสารที่จำเป็นในงาน

  30. ข้อคำถาม 20 ข้อ ในโปรแกรมประเมินค่างาน 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา ข้อ 10 กรอบแนวคิดสำหรับการแก้ปัญหา ข้อ 11 อิสระในการคิด 4. กรอบของอำนาจและอิสระในความคิด 5. ความท้าทายใน การคิดแก้ปัญหา ข้อ 12 ความท้าทายในงาน ข้อ 13 การวิเคราะห์ข้อมูล

  31. ข้อคำถาม 20 ข้อ ในโปรแกรมประเมินค่างาน 3. ภาระรับผิดชอบ ข้อ 14 อิสระในการทำงาน ข้อ 15 การได้รับอำนาจในการทำงาน ข้อ 16 อำนาจในการตัดสินใจ 6. อิสระในการปฏิบัติงาน 7. ผลกระทบจากการปฏิบัติงาน 8. ลักษณะงานที่ปฏิบีติของตำแหน่ง ข้อ 17 ผลกระทบจากการปฏิบัติงาน ข้อ 18 ลักษณะงานที่ปฏิบัติของตำแหน่ง การตรวจสอบ (ลักษณะงาน) ผลการประเมินค่างาน ข้อ 19 วัตถุประสงค์หลักของงานของตำแหน่ง ข้อ 20 ประเภทและระดับตำแหน่ง

  32. กลไกประมวลผลในโปรแกรมการประเมินค่างานกลไกประมวลผลในโปรแกรมการประเมินค่างาน 1. ความรู้และทักษะที่จำเป็นในงาน ตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้และทักษะ สิ่งจำเป็นในงานและความสามารถในการแก้ปัญหา ตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการแก้ปัญหาและภาระรับผิดชอบตามการตรวจสอบ Profrie Check โปรแกรมจะมีการตรวจสอบความคงเส้นคงวาและความน่าเชื่อถือของคะแนนเพื่อให้ได้ผลการประเมินที่ถูกต้องที่สุด 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. ภาระรับผิดชอบ

  33. ขั้นตอนการประเมินค่างานขั้นตอนการประเมินค่างาน ฝ่ายเลขานุการ 1. รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์งาน 2. วิเคราะห์ประเมินงานของตำแหน่ง แล้วเลือกตอบ 20 ข้อในคำถามในแบบประเมินค่างาน 3. เสนอคณะกรรมการ คณะกรรมการกำหนดตำแหน่งระดับสูง 1. พิจารณาตามหลักเกณฑ์การกำหนดตำแหน่ง 2. พิจารณาการประเมินค่างานในแบบประเมินค่างานที่ฝ่ายเลขานุการเสนอ 3. ให้ฝ่ายเลขานุการนำคำตอบไปบันทึกลงในโปรแกรมประเมินค่างานและประเมินผล อ.ก.พ.ฯ กระทรวง พิจารณา กำหนดตำแหน่ง

  34. Q / A

More Related