1 / 84

หมวด 1 การนำองค์กร

หมวด 1 การนำองค์กร. การกำหนดทิศทางองค์กร วิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ (ระยะสั้น/ยาว) ผลการดำเนินการ ที่คาดหวัง. การกำหนดทิศทางองค์กร ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย. ส่วนราชการ/ผู้บริหาร อธิบดี รองอธิบดี ผอ.สำนัก/กอง. บุคลากรในองค์กร สื่อสาร 2 ทิศทาง

olinda
Download Presentation

หมวด 1 การนำองค์กร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หมวด1 การนำองค์กร

  2. การกำหนดทิศทางองค์กร • วิสัยทัศน์ • ค่านิยม • เป้าประสงค์ • (ระยะสั้น/ยาว) • ผลการดำเนินการ • ที่คาดหวัง • การกำหนดทิศทางองค์กร • ผู้รับบริการ • ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ส่วนราชการ/ผู้บริหาร • อธิบดี • รองอธิบดี • ผอ.สำนัก/กอง • บุคลากรในองค์กร • สื่อสาร 2 ทิศทาง • รับรู้เข้าใจ • นำไปปฏิบัติ 2

  3. วิสัยทัศน์(Vision) วิสัยทัศน์ หมายถึง ข้อความหรือถ้อยแถลงที่ระบุในอนาคตของหน่วยงาน และการดำเนินงานที่ต้องการสร้างให้เกิดขี้น (means and ends) ภายใต้เงื่อนไขของสภาพการณ์ที่ได้ศึกษาวิเคราะห์เอาไว้

  4. หลักในการเขียนวิสัยทัศน์หลักในการเขียนวิสัยทัศน์ - สั้น กะทัดรัด จดจำง่าย บอกถึงความปรารถนา ความท้าทาย - บอกให้ทราบถึงสิ่งที่ต้องการจะบรรลุถึงหรือระดับของการให้บริการ - เร้าความสนใจของสมาชิกทุกคนในองค์การ รวมทั้งผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย

  5. องค์ประกอบ( เกณฑ์ ) ที่ควรมีของวิสัยทัศน์ Market position Specialization Opportunity Scope of Bussiness Competitive advantage and Value Timeframe

  6. ตัวอย่างวิสัยทัศน์(Vision)ของกรมบังคับคดีประจำปีงบประมาณพ.ศ.2552-2555ตัวอย่างวิสัยทัศน์(Vision)ของกรมบังคับคดีประจำปีงบประมาณพ.ศ.2552-2555 “ กรมบังคับคดีเป็นองค์นำ (ระดับอาเซียน) Market positionด้านการบังคับคดีSpecialization ภายใต้ระบบคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐScope of Bussiness ด้วยวิทยาการและเทคโนโลยีที่ทันสมัยOpportunity โดยยึดหลักธรรมาภิบาล ภายในปี 2555”Timeframe

  7. ตัวอย่างวิสัยทัศน์ บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย “เป็นผู้นำผลิตภัณฑ์ปูนซีเมนต์ในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” วิสัยทัศน์ธนาคารกรุงเทพ “จะเป็นธนาคารชั้นนำในภูมิภาคเอเชีย” มุ่งผลสัมฤทธิ์

  8. ค่านิยมร่วม หมายถึง พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของบุคคลากรที่องค์การต้องการให้เกิด/มีเพื่อให้การปฏิบัติราชการบรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนด หรือเป็นหลักในการทำงานร่วมกันที่อธิบายถึงวิธีการที่องค์การกำกับตนเองในการสร้างผลงานตามพันธกิจให้เกิดผล หรือหลักการพื้นฐาน ความเชื่อที่แฝงอยู่ในวิสัยทัศน์และพันธกิจ

  9. ทำไมต้องกำหนดค่านิยมร่วมทำไมต้องกำหนดค่านิยมร่วม 1. เพื่อให้ทุกคนในองค์กรมีหลักปฏิบัติที่เป็นไปในทางเดียวกัน 2. เป็นรากฐานของการสร้างองค์กรที่ดี 3. เป็นเข็มทิศให้ทุกคนยึดถือในการทำงานร่วมกัน 4. เป็นหลักที่องค์กรใช้ในการตัดสินใจหรือใช้ตัดสินปัญหา ข้อขัดแย้งในการทำงาน

  10. ตัวอย่างค่านิยมของ กรมบังคับคดี ด้วยจิตบริการ วิทยาการล้ำเลิศ ชูเชิดธรรมาภิบาล เชี่ยวชาญการบังคับคดี

  11. แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ 1. 2. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ 1. 2. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ 1. 2. วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัฒนธรรมองค์การ เก่ง + ดี ค่านิยมหลักขององค์การ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ โครงการ โครงการ โครงการ 11

  12. ขั้นตอนการดำเนินการLD1 • จัดทำFlow Chartการทบทวน ทิศทางองค์กร ระบุผู้รับผิดชอบ กรอบเวลาชัดเจน และต้องสอดคล้องกับพันธกิจขององค์กร • นำความความต้องการของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาประกอบการพิจารณาด้วย อาจจากการสอบถามความคิดเห็น หรือเชิญเข้าร่วมในการกำหนดทิศทางองค์กร • กำหนดช่องทาง และสื่อสารทิศทางองค์กร • ติดตามประเมินผลการสื่อสารทิศทางองค์กร ใน 3 ประเด็น คือรับรู้ เข้าใจ และนำไปปฏิบัติ

  13. 5. วิเคราะห์ขั้นตอนในการกำหนดทิศทางองค์กร และวิธีการหรือช่องทางการสื่อสารว่ามีประสิทธิภาพหรือไม่ และจัดทำข้อเสนอแนะในการปรับปรุง ต้องแสดงความแตกต่าง ว่าขั้นตอนเดิมกับใหม่แตกต่างกันอย่างไร ปรับปรุงแล้วดีขึ้นอย่างไร เช่น • เดิมรับฟังความคิดเห็นเฉพาะกลุ่มผู้รับบริการ ภายหลังได้เชิญผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามาร่วมให้ความเห็นด้วย ทำให้ทิศทางองค์กรที่กำหนดสอดคล้องทั้งความต้องการความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมากยิ่งขึ้น • เดิมสื่อสารผ่าน Web Site แจ้งเวียน หลังจากประเมินแล้วพบว่าไม่ได้ผลดีเท่าที่ควรเนื่องจากคนไม่ค่อยอ่าน จึงปรับปรุง โดยทุกครั้งที่ผู้บริหารจะเริ่มประชุมประจำเดือนจะต้องพูดเรื่องทิศทางขององค์กรให้ข้าราชการรับทราบ เป็นต้น

  14. หลักฐานของตัว D คือ • แบบสำรวจเพื่อแสดงผลการรับรู้ เข้าใจ ต้องถูกต้องตามหลักสถิติวิจัย (ไม่ควรน้อยกว่า 10% ของจำนวนข้าราชการ หรือไม่น้อยกว่า 400 ชุดสำหรับหน่วยงานขนาดใหญ่ ) ทั้งนี้ผลการสำรวจความพึงพอใจต้องไม่น้อยกว่า 60% • ในการสำรวจการรับรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำไปปฏิบัติงาน ควรแยกประเด็นคำถามให้ชัดเจน หากใช้คำถามเดียวกันทั้งหมดจะไม่สามารถตอบโจทย์ได้ครบถ้วนทั้ง 3 ประเด็น

  15. วิธีสุ่มถามจากบุคลากร ดังนั้น ส่วนราชการต้องผลักดันเรื่องนี้ จนมั่นใจว่า บุคลากรรับรู้และ เข้าใจในทิศทางองค์กรในประเด็นที่กำหนด ซึ่งส่วนราชการจะผ่านในประเด็นนี้ได้บุคลากรที่ถูกสุ่มถามต้องมีความรู้ ความเข้าใจในทิศทางองค์กรไม่น้อยกว่า 50% ของผู้ถูกสำรวจ เช่น ถาม 10 คน ต้องตอบได้ไม่น้อยกว่า 5 คน • ในกรณีของส่วนราชการระดับกรม จะครอบคลุมส่วนกลางที่ไปตั้งอยู่ที่ภูมิภาคด้วย

  16. ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติระดับรอง ทำงานเป็นทีม ตัดสินใจทันท่วงที ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใช้ศักยภาพการทำงานเต็มที่ รายงานผลการดำเนินการ การทบทวน การมอบอำนาจ • พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 • พ.ร.ฎ. ว่าด้วยการมอบอำนาจ พ.ศ. 2550 16

  17. ตัวอย่างตารางมอบอำนาจ LD2

  18. ขั้นตอนการดำเนินการLD2 • จัดทำคำสั่งมอบอำนาจ โดยอำนาจที่มอบเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับพรฎ.ว่าด้วยการมอบอำนาจ พ.ศ. 2550 • ผู้รับมอบอำนาจรายงานผลการใช้อำนาจที่ได้รับมอบอำนาจ • สรุปผลการใช้อำนาจในภาพรวมและจัดทำข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการมอบอำนาจ

  19. กระบวนการ • กิจกรรมการเรียนรู้ • การมีส่วนร่วม ผู้บริหาร เป้าหมายองค์การ • บรรยากาศที่ดี • การบูรณาการ • ความร่วมมือ • ความผูกพันองค์กร • แรงจูงใจการปฏิบัติงาน บุคลากร 19

  20. ขั้นตอนการดำเนินการLD3 • คัดเลือกกิจกรรม เพื่อให้บุคลากรมีความร่วมมือ ความผูกพัน และมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน อาจนำข้อมูลจากการสำรวจHR1 ประกอบการพิจารณา หรือ จากการสอบถามความคิดเห็นของบุคลากรภายในหน่วยงาน • จัดทำแนวทาง/แผนงาน/โครงการ ประจำปีที่ชัดเจน เกี่ยวกับกิจกรรมสร้างบรรยากาศ

  21. ดำเนินการตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่กำหนด • ติดตามผล โดยจัดทำแบบสำรวจความคิดเห็นของบุคลากรต่อกิจกรรมที่จัดว่าสามารถสร้างความผูกพัน และร่วมมือ และแรงจูงใจในการปฏิบัติงานได้หรือไม่ • จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินการและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงกิจกรรมเสนอผู้บริหาร

  22. แผนปฏิบัติการการส่งเสริมการเรียนรู้ขององค์กรและบุคคลแผนปฏิบัติการการส่งเสริมการเรียนรู้ขององค์กรและบุคคล ประกอบด้วย - นโยบายด้านการเรียนรู้ขององค์กรและบุคคลเพื่อ บรรยากาศที่ดี การบูรณาการ ความร่วมมือ ความผูกพันองค์การ และแรงจูงใจ การปฏิบัติงาน(นโยบายแต่ละด้านตามวัตถุประสงค์) - แนวทางปฏิบัติ - มาตรการ/โครงการ - การนำไปปฏิบัติและประเมินผล - ขออนุมัติและประกาศ -ใช้สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ เสริมสร้างความเข้าใจ และการติดตามประเมินผล

  23. แผนปฏิบัติการการส่งเสริมการเรียนรู้ขององค์กรและบุคลากรแผนปฏิบัติการการส่งเสริมการเรียนรู้ขององค์กรและบุคลากร

  24. การทบทวนผล การดำเนินการ • แผนประเมินผลการปฏิบัติงาน • กำหนดแนวทาง • ระยะเวลา • ผู้รับผิดชอบ • กำหนดตัวชี้วัด • สำคัญ • อาจทำเป็น • แผนภาพ • (Flowchart) • ตัวชี้วัดสำคัญ • การติดตามประเมินผล • การดำเนินการตาม • ยุทธศาสตร์ • การบรรลุพันธกิจหลัก • ตัวชี้วัดแผนงาน/ • โครงการ วิเคราะห์ผลเทียบกับค่าเป้าหมาย นำผลการทบทวน จัดลำดับความสำคัญ ปรับปรุงองค์การ 24

  25. ตัวชี้วัดที่สำคัญ หมายถึง ตัวชี้วัดที่ส่งผลกระทบสูงต่อความสำเร็จขององค์กร ซึ่งผู้บริหารต้องให้ความสำคัญเป็นพิเศษ ต้องครอบคลุม 3 ประเภท คือตัวชี้วัดในการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดในการบรรลุพันธกิจหลัก ตัวชี้วัดของแผนงาน/โครงการ

  26. เกณฑ์ในการคัดเลือกตัวชี้วัด เช่น นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล ส่งผลกระทบต่อประชาชนส่วนมาก มีผลกระทบสูงต่อการบรรลุยุทธศาสตร์ขององค์กรเป็นต้น

  27. ตัวชี้วัดที่สำคัญ หมายถึง ตัวชี้วัดที่สำคัญที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการบรรลุผลลัพธ์ที่ต้องการของส่วนราชการ

  28. ตัวชี้วัดที่สำคัญ หมายถึง ตัวชี้วัดที่ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการบรรลุผลลัพธ์ที่ต้องการของส่วนราชการ

  29. แผนในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย • แนวทางการติดตามประเมินผลของแต่ละตัวชี้วัด เช่น ตัวชี้วัดของแผนงานโครงการ ติดตามจากร้อยละการเบิกจ่ายตามแผนที่กำหนด • กรอบระยะเวลาในการติดตามของแต่ละตัวชี้วัด เช่น ติดตามราย 1 เดือน รายไตรมาส ราย 6 เดือน และ 12 เดือน • ผู้รับผิดชอบในการติดตามประเมินผล คือผู้ที่ได้รับมอบหมายในการติดตามผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดแต่ละตัว

  30. ตัวอย่างแผนปฏิบัติการการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  31. การนำผลการทบทวนมาจัดลำดับความสำคัญ หมายถึง • การนำผลการปฏิบัติงานที่ไม่ได้ตามเป้าหมายมาจัดลำดับความสำคัญเพื่อทำให้ทราบว่าตัวชี้วัดใดต้องแก้ไขก่อน หรือหลัง ทั้งนี้ต้องกำหนดเกณฑ์ฯการจัดลำดับความสำคัญ เพื่อใช้ในการพิจารณา เช่น งบประมาณในการดำเนินการ ระยะเวลาในการดำเนินการ ความพร้อมของส่วนราชการ ผลกระทบที่เกิดขึ้นหากตัวชี้วัดไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด เป็นต้น

  32. ขั้นตอนการดำเนินการ • จัดทำFlow Chart การกำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ • กำหนดเกณฑ์ในการคัดเลือกตัวชี้วัดที่สำคัญ • จัดทำแผนในการติดตามประเมินผลตัวชี้วัด ต้องประกอบด้วยชื่อตัวชี้วัด แนวทางการติดตาม กรอบระยะเวลา และผู้รับผิดชอบ • กำหนดเกณฑ์ในการจัดลำดับความสำคัญของผลการทบทวนตัวชี้วัดเพื่อนำไปสู่การปรับปรุงผลการดำเนินงานให้ดีขึ้น

  33. 5 ติดตามประเมินผลตัวชี้วัดตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในแผนการติดตามผลการปฏิบัติงาน และรายงานให้ผู้บริหารรับทราบ 6 จัดลำดับความสำคัญของผลของตัวชี้วัดตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในข้อ 3 และรายงานผลการจัดลำดับความสำคัญให้ผู้บริหารรับทราบ 7ทบทวนปรับปรุงกระบวนการดำเนินการเพื่อให้ตัวชี้วัดเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด

  34. 8รายงานผลการดำเนินการของตัวชี้วัดที่สำคัญ เมื่อสิ้นปีงบประมาณให้ผู้บริหารรับทราบ • ทบทวนหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกตัวชี้วัดที่สำคัญ และแผนการติดตามประเมินผล โดยพิจารณาจากผลการดำเนินการที่ผ่านมา และจากปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้อง • นำผลการทบทวนดังกล่าวไปกำหนดเป็นหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกตัวชี้วัดที่สำคัญและแผนในการติดตามตัวชี้วัดของปีงบประมาณต่อไป

  35. เกณฑ์การจัดลำดับความสำคัญของตัวชี้วัดเกณฑ์การจัดลำดับความสำคัญของตัวชี้วัด ใช้สูตรการจัดลำดับความสำคัญตามน้ำหนัก(คะแนน)ของตัวชี้วัด โดยกำหนด คะแนน 1 เท่ากับ สำคัญ น้อย คะแนน 2 เท่ากับ สำคัญ ปานกลาง คะแนน 3 เท่ากับ สำคัญ มาก ตัวชี้วัดที่มีคะแนนรวมมากอันดับ 1 เท่ากับ เป็นตัวชี้วัดที่ต้องติดตามมากเป็นพิเศษ คะแนนรวมอันดับ 2 เท่ากับ เป็นตัวชี้วัดที่ต้องติดตามมาก คะแนนรวมอันดับ 3 เท่ากับ เป็นตัวชี้วัดที่ต้องติดตามปานกลาง

  36. วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมหลักองค์กร/หลักธรรมาภิบาล GG. • นโยบาย OG 4 ด้าน • ด้านรัฐ สังคม • และสิ่งแวดล้อม • ด้านผู้รับบริการ • และผู้มีส่วนได้ • ส่วนเสีย • ด้านองค์การ • ด้านผู้ปฏิบัติงาน มาตรการ/โครงการ แนวทางปฏิบัติ 36

  37. ขั้นตอนการจัดทำ ขั้นตอนการ เตรียมการ 1. กำหนดผู้รับผิดชอบจัดทำนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี 2. จัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ ขั้นตอนการจัดทำร่าง นโยบายการกำกับดูแล องค์การที่ดี 4. กำหนดร่างนโยบายหลัก 4 ด้าน 3. ทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมหลักขององค์การ 5. กำหนดแนวทางปฏิบัติภายใต้นโยบายหลัก 4 ด้าน 6. ขออนุมัติและการประกาศใช้ ขั้นตอนการนำ ไปปฏิบัติและ ประเมินผล 7จัดทำแผนปฎิบัติการเพื่อนำสู่การปฎิบัติ: สื่อสาร สร้างความเข้าใจ ส่งเสริม ผลักดัน ติดตาม รายงานผลและข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุง กระบวนการที่จะนำไปปฏิบัติให้เกิดผล 37

  38. การวางนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีการวางนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ค่านิยมหลักขององค์การ ธรรมาภิบาล มาตรการ/ โครงการ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ประเมินผล แนวทางปฏิบัติ ด้านผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้านองค์การ ด้านผู้ปฏิบัติงาน 38

  39. 39

  40. แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ 1. 2. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ 1. 2. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ 1. 2. วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัฒนธรรมองค์การ เก่ง + ดี ค่านิยมหลักขององค์การ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ โครงการ โครงการ โครงการ 40

  41. ข้อสังเกตุ • กำหนดแนวทาง (Flow Chart)( แสดงกระบวนการจัดทำ ทบทวน ปรับปรุงนโยบาย) ผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน และช่องทางสื่อสาร • จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี ในการส่งเสริมการนำนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ครบ 4 ด้าน • แผนงานโครงการที่มีคุณภาพพิจารณาจาก โครงการ/มาตรการสอดรับนโยบาย ต้องแสดงดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าของกิจกรรม • ต้องทบทวนนโยบายทุกปี

  42. ดำเนินการตามแผนงานโครงการ ทั้ง 4 ด้าน • ติดตามผลการดำเนินงานโครงการและวัดผลสัมฤทธิ์ของโครงการ • รายงานผลการดำเนินแต่ละโครงการและวิเคราะห์ผลการดำเนินการในภาพรวมตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีพร้อมข้อเสนอแนะในการปรับปรุงให้ผู้บริหารรับทราบ

  43. การควบคุมภายใน • ประสิทธิภาพ • ประสิทธิผล • ประหยัด • การดูแลรักษาทรัพย์สิน • การป้องกันความเสี่ยง • การป้องกันความผิดพลาด • การป้องกันความเสียหาย • การรั่วไหล • การสิ้นเปลือง • การป้องกันการทุจริต • การดำเนินการ • กำหนดแนวทาง/วิธีดำเนินการ • อาจทำเป็นแผนภาพกระบวนการ • วางระบบควบคุมภายในตาม • แนวทางของ คตง. • รายงานความคืบหน้าการวาง • ระบบต่อผู้บังคับบัญชา • รายงานผลการปรับปรุงตาม • แบบ ปอ.3 • จัดทำข้อเสนอแนะแผนปรับปรุง 43

  44. ขั้นตอนการดำเนินการ LD6 • กำหนดผู้รับผิดชอบ • กำหนดขอบเขต( ประเมินทั้งระบบหรือบางส่วน) • ศึกษาทำความเข้าใจโครงสร้างการควบคุมภายใน วัตถุประสงค์ วิธีการ รูปแบบของระบบควบคุมภายใน • จัดทำแผนการประเมินผล • ประเมินผล • วิเคราะห์จุดอ่อน ความเสี่ยงของระบบควบคุมภายในและจัดทำรายงาน

  45. พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8 (3) “ก่อนเริ่มดำเนินการส่วนราชการต้องจัดให้มีการวิเคราะห์ผลดี ผลเสียให้ครบทุกด้าน กำหนดขั้นตอนการดำเนินการที่โปร่งใส มีกลไกการตรวจสอบการดำเนินการในแต่ละขั้นตอน ในกรณีใดที่มีผลกระทบต่อประชาชน ส่วนราชการต้องดำเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และชี้แจงทำความเข้าใจ เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ที่ส่วนรวมจะได้รับจากภารกิจนั้น” • แนวทางดำเนินการ • มาตรการ วิธีการจัดการ • ผลกระทบทางลบ • มาตรการป้องกัน • (กรณีไม่มีผลกระทบทางลบ) • อาจทำเป็นแผนภาพ • กระบวนการ • มีการรายงานผลการจัดการ • มีการทบทวนวิธีการจัดการ • ปรับปรุงแนวทาง/ • มาตรการ/วิธีการ • มาตรการที่กำหนด • สอดคล้องกับพันธกิจของ • องค์การ 45

  46. ขั้นตอนการดำเนินการ LD 7 • กำหนดขั้นตอนในภาพรวมในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นกับสังคม • วิเคราะห์การดำเนินการตามภารกิจที่ก่อให้เกิดผลเสียต่อชุมชนและสังคม • จัดทำมาตรการป้องกัน และมาตรการแก้ไขผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นกับสังคม • ดำเนินการตามมาตรการที่กำหนด • รายงานผลการดำเนินการตามมาตรการที่กำหนด และรายงานสรุปผลการทบทวนมาตรการการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นกับสังคม พร้อมทั้งจัดทำข้อเสนอแนะในการปรับปรุงมาตรการฯ ให้ผู้บริหารรับทราบ

  47. LD7การวิเคราะห์ผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสังคมLD7การวิเคราะห์ผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสังคม

  48. แผนปฏิบัติการการป้องกันผลกระทบทางลบจากการปฏิบัติงานของกรมแผนปฏิบัติการการป้องกันผลกระทบทางลบจากการปฏิบัติงานของกรม

  49. ข้อแนะนำการดำเนินการ หมวด 1 49

  50. หมวด 2การวางแผนยุทธศาสตร์

More Related