1 / 8

คนต่างด้าวที่เป็น ชนกลุ่มน้อย

การขอถือสัญชาติไทยตามสามีและการแปลงสัญชาติเป็นไทยของชนกลุ่มน้อย. ให้ยื่นคำขอฯ ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามประกาศกระทรวงมหาด ไทยเรื่องแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2535. ดำเนินการตามหนังสือกรมการปกครอง ที่ มท 0309.1/ว2863

Download Presentation

คนต่างด้าวที่เป็น ชนกลุ่มน้อย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขอถือสัญชาติไทยตามสามีและการแปลงสัญชาติเป็นไทยของชนกลุ่มน้อยการขอถือสัญชาติไทยตามสามีและการแปลงสัญชาติเป็นไทยของชนกลุ่มน้อย ให้ยื่นคำขอฯ ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามประกาศกระทรวงมหาด ไทยเรื่องแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2535 ดำเนินการตามหนังสือกรมการปกครอง ที่ มท 0309.1/ว2863 ลงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2545 หญิงต่างด้าวที่เป็นชนกลุ่มน้อยยื่นคำร้องขอถือสัญชาติไทยตาม สามี ตามมาตรา 9 ตามแบบคำขอถือสัญชาติไทยโดยการสมรส ของหญิงที่เป็นคนต่างด้าวซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อย (ชกน.1) คนต่างด้าวที่เป็น ชนกลุ่มน้อย คนด้าวที่เป็นชนกลุ่มน้อยยื่นคำร้องขอแปลงสัญชาติเป็นไทย ตามมาตรา 10 ตามแบบคำขอแปลงสัญชาติเป็นไทยของคน ต่างด้าวซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อย (ชกน.2) การยื่นคำร้องตามกฎกระทรวง พ.ศ.2510 พนักงานเจ้าหน้าที่ คือตำรวจสันติบาล ใช้กับคนต่างด้าวที่เข้าเมืองมาในประเทศไทย มีโควตาของแต่ละชาติ ชาติละ 100 คน แล้วต่อมาขอแปลง สัญชาติเป็นไทย หรือหญิงต่างด้าวที่มิใช่ชนกลุ่มน้อยในประเทศ ไทยที่สมรสกับชายไทย

  2. ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ สัญชาติ พ.ศ.2508 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)(ฉบับที่ 3) พ.ศ.2535 ปลัดกระทรวงมหาดไทย อธิบดีกรมการปกครอง ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้อำนวยการสำนักบริหารการทะเบียน พนักงานเจ้าหน้าที่ นายอำเภอ ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้ากิ่งประจำกิ่งอำเภอ ดำเนินการเกี่ยวกับสัญชาติที่เกี่ยวกับชนกลุ่มน้อย ทุกกลุ่มที่กระทรวงมหาดไทยได้จัดทำทะเบียน ประวัติและบัตรประจำตัวไว้ตามมติคณะรัฐมนตรี และนโยบายที่กำหนด ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2543

  3. แนวทางประกอบการพิจารณาการขอถือสัญชาติไทยตามสามีและการแปลงสัญชาติแนวทางประกอบการพิจารณาการขอถือสัญชาติไทยตามสามีและการแปลงสัญชาติ เป็นไทย ตามมาตรา 9 และมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508 มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทย(มีชื่อใน ท.ร.13,14) สมรสกับชายไทยถูกต้องตามกฎหมายมาไม่น้อยกว่า 3 ปี นับแต่วันยื่น คำขอกรณีมีบุตรกับคู่สมรสชายไทย(จด)ไม่น้อยกว่า 1 ปี • สามีของผู้ยื่นคำขอจะต้องมีอาชีพเป็นหลักฐานและมีรายได้พอเลี้ยง • ครอบครัว • - รายได้ไม่ต่ำกว่า 30,000 บาท/เดือน กรณีผู้ยื่นคำขอมีรายได้สามารถ • นำรายได้ไปรวมกับสามีได้เพื่อให้ถึงเกณฑ์ที่กำหนด และจะต้องมี • หนังสือรับรองเงินเดือน/รายได้ และหลักฐานการเสียภาษีเงินได้ใน • รอบปีที่ผ่านมามาแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ด้วย • หากเป็นข้าราชการ/เจ้าหน้าที่ของรัฐ ต้องมีรายได้ไม่ตำกว่า15,000บาท • หรือมีรายได้ไม่ตำกว่า 10,000 บาท/เดือน คู่สมรสต้องมีทรัพย์สินมูลค่า • ไม่ตำกว่า 300,000 บาท และมีเอกสารที่รับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขอถือสัญชาติไทย ตามสามี ตามมาตรา 9 ต้องผ่านการตรวจสอบสถานภาพการสมรสและประวัติจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง

  4. แนวทางประกอบการพิจารณาการขอถือสัญชาติไทยตามสามีและการแปลงสัญชาติเป็นไทย ตามมาตรา 9 และมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508 ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนมาก ที่ มท 0204.3/ว1901 ลงวันที่ 22 กรกฎาคม 2545 • การตรวจสอบความประพฤติของคนต่างด้าวที่ขอถือสัญชาติไทยตามสามี • ตรวจสอบสถานะภาพการสมรส (สน.บท.) • ตรวจสอบประวัติอาชญากรรม (กองทะเบียนประวัติอาชญากร) • ตรวจสอบพฤติการณ์ทางการเมือง (สำนักงานตำรวจสันติบาล) • ตรวจสอบพฤติการณ์บุคคล (กรณีสัญชาติเวียดนาม) • ตรวจสอบพฤติการณ์ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด (ตำรวจ กับ ป.ป.ส) • ตรวจสอบพฤติการณ์ที่เกี่ยวกับความมั่นคงแห่งชาติ (สำนักข่าวกรอง) • ตรวจสอบหมายจับจากกองการต่างประเทศ (สำนักงานตำรวจแห่งชาติ) ขอถือสัญชาติไทย ตามสามี ตามมาตรา 9 • ผู้ยื่นคำขอต้องผ่านการสัมภาษณ์เพื่อสอบถามเจตนารมณ์และสังเกต • พฤติการณ์ของคู่สมรส • ภูมิลำเนาอยู่ กทม. สัมภาษณ์จากคณะทำงานพิจารณากลั่นกรองคำขอ • แปลงสัญชาติเป็นไทย • - ต่างจังหวัด สัมภาษณ์จากคณะทำงานพิจารณากลั่นกรองคำขอ • แปลงสัญชาติเป็นไทยระดับจังหวัด (ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน • หัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง และผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด • เป็นเลขานุการ)

  5. แนวทางประกอบการพิจารณาการขอถือสัญชาติไทยตามสามีและการแปลงสัญชาติเป็นไทย ตามมาตรา 9 และมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508 ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนมาก ที่ มท 0204.3/ว1901 ลงวันที่ 22 กรกฎาคม 2545 บรรลุนิติภาวะแล้วตามกฎหมายไทยและกฎหมายที่บุคคลนั้นมีสัญชาติ • มีอาชีพเป็นหลักฐาน โดยจะต้องมีหนังสือรับรองการประกอบอาชีพจาก • กองแรงงานต่างด้าวหรือแรงงานจังหวัด และมีรายได้ดังนี้ • กรณีเข้ามาทำงาน ต้องมีรายได้ไม่ต่ำกว่า 80,000 บาท/เดือน โดยมี • หนังสือรับรองเงินเดือน/รายได้ เป็นหลักฐาน หรือเสียภาษีเงินได้บุคคล • ธรรมดาในปีที่ยื่นคำขอแปลงสัญชาติ ตั้งแต่ 100,000 บาท ขึ้นไป • โดยมีหลักฐานการเสียภาษีมาไม่น้อยกว่า 3 ปี • กรณีอยู่ในราชอาณาจักรไทยเพื่อเหตุผลทางด้านมนุษยธรรม เช่นสมรส • กับบุคคลผู้มีสัญชาติไทยหรือมีบุตรเกิดในประเทศไทย หรือจบการศึกษา • ระดับอุดมศึกษาภายในประเทศไทยจะต้องมีรายได้ไม่ต่ำกว่า 30,000 บาท • ต่อเดือน โดยมีหลักฐานการเสียภาษีมาไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอแปลงสัญชาติเป็นไทย ตามมาตรา 10 มีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักรไทยต่อเนื่องจนถึงวันยื่นคำขอแปลงสัญชาติ เป็นไทยไม่น้อยกว่า 5 ปี โดยนับจากการได้รับใบสำคัญถิ่นที่อยู่หรือใบ สำคัญประจำตัวคนต่างด้าวหรือหลักฐานทางทะเบียนราษฎร

  6. แนวทางประกอบการพิจารณาการขอถือสัญชาติไทยตามสามีและการแปลงสัญชาติเป็นไทย ตามมาตรา 9 และมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508 ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนมาก ที่ มท 0204.3/ว1901 ลงวันที่ 22 กรกฎาคม 2545 มีความประพฤติดี โดยผ่านการตรวจสอบจาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดังนี้ - ตรวจสอบประวัติอาชญากรรม (กองทะเบียนประวัติอาชญากร) - ตรวจสอบพฤติการณ์ทางการเมือง (สำนักงานตำรวจสันติบาล) - ตรวจสอบพฤติการณ์บุคคล (กรณีสัญชาติเวียดนาม) - ตรวจสอบพฤติการณ์ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด (ตำรวจ กับ ป.ป.ส) - ตรวจสอบพฤติการณ์ที่เกี่ยวกับความมั่นคงแห่งชาติ (สำนักข่าวกรอง) - ตรวจสอบหมายจับจากกองการต่างประเทศ (สำนักงานตำรวจแห่งชาติ) ขอแปลงสัญชาติเป็นไทย ตามมาตรา 10 ผู้ยื่นคำร้องต้องผ่านเกณฑ์การให้คะแนน รวมกันไม่ตำกว่า 50 คะแนน มีความรู้ภาษาไทยตามที่กำหนดในกฎกระทรวง โดยพูดภาษาไทยและฟัง ภาษาไทยเข้าใจได้ และจะต้องสามารถร้องเพลงชาติไทยและเพลงสรรเสริญ พระบารมีได้

  7. แนวทางประกอบการพิจารณาการขอถือสัญชาติไทยตามสามีและการแปลงสัญชาติเป็นไทย ตามมาตรา 9 และมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508 ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนมาก ที่ มท 0204.3/ว1901 ลงวันที่ 22 กรกฎาคม 2545 • ผู้ยื่นคำขอต้องผ่านการสัมภาษณ์จาก • ภูมิลำเนาอยู่ กทม. สัมภาษณ์จากคณะทำงานพิจารณากลั่นกรองคำขอ • แปลงสัญชาติเป็นไทย • - ต่างจังหวัด สัมภาษณ์จากคณะทำงานพิจารณากลั่นกรองคำขอ • แปลงสัญชาติเป็นไทยระดับจังหวัด (ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน • หัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง และผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด • เป็นเลขานุการ) ขอแปลงสัญชาติเป็นไทย ตามมาตรา 10 เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยอนุญาตให้แปลงสัญชาติเป็นไทยได้ ก็จะต้องทำพิธีสาบานตนในพื้นที่ที่ตนเองยื่นคำขอ เมื่อทำพิธีสาบานตนแล้วก็จะจัดทำบัญชีรายชื่อเข้าทูลเกล้าให้พระบาท สมเด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราช หัตถเลขาพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้แปลงสัญชาติเป็นไทยแล้ว กระทรวงมหาดไทยจึงได้จัดทำประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การได้ สัญชาติไทยของบุคคลดังกล่าวประกาศในราชกิจจานุเบกษา ซึ่งเมื่อได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว บุคคลดังกล่าวจะได้สัญชาติไทยโดยการ แปลงสัญชาติเป็นไทยตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

  8. ที่อยู่และเบอร์โทรศัพท์ในการติดต่อสอบถามปัญหาที่อยู่และเบอร์โทรศัพท์ในการติดต่อสอบถามปัญหา 59 หมู่ที่ 11 ตำบลบึงทองหลาง อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี รหัสไปรษณีย์ 12150 โทรศัพท์ 02-791-7317 (02-791-7318-20) โทรสาร 02-791-7339 , 02-906-9216 หัวหน้าฝ่าย นายถาวร ลีลาพันธุ์ นายอัมพร ประสิทธิ์ 081-933-5892 (ชนกลุ่มน้อยและบุคคลผู้ไม่มีสถานะทางทะเบียน) นายสุพจน์ นารถพจนานนท์ และ นายสมเพียร รักช่วย (แรงงาน 3 สัญชาติ พม่า ลาว และกัมพูชา)

More Related