1 / 14

พระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ. 2511

พระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ. 2511. ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดที่ดิน เพื่อการครองชีพ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550. ที่มาของกฎหมาย.  เป็นการใช้ที่ดินเพื่อยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชน เริ่มจากนิคมสร้างครอบครัวสู่นิคมสร้างตนเอง (พุทธศักราช 2483 )

Download Presentation

พระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ. 2511

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพพ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดที่ดิน เพื่อการครองชีพ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550

  2. ที่มาของกฎหมาย เป็นการใช้ที่ดินเพื่อยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชนเริ่มจากนิคมสร้างครอบครัวสู่นิคมสร้างตนเอง (พุทธศักราช 2483)  พระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พุทธศักราช 2485  พระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2504

  3. แนวคิดอันเป็นเบื้องหลังของกฎหมายแนวคิดอันเป็นเบื้องหลังของกฎหมาย แนวคิดในการสงเคราะห์ - เพื่อสงเคราะห์ผู้ยากไร้ให้มีที่ดินทำกินเป็นของตนเอง  แนวคิดทางด้านเศรษฐกิจและความมั่นคงของชาติ - ที่ดินเป็นปัจจัยการผลิต - นิคมสร้างตนเองเป็นหน่วยผลิตขนาดใหญ่ที่มีประสิทธิภาพ - การใช้นิคมสร้างตนเองเป็นกลไกของรัฐในการแก้ไขปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และความมั่นคงของชาติ

  4. เหตุผลในการประกาศใช้กฎหมายเหตุผลในการประกาศใช้กฎหมาย  พระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พุทธศักราช 2485 และพระราชบัญญัติจัดที่ดิน เพื่อการครองชีพ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2504 ไม่เหมาะสมกับกาลสมัย เพื่อนำบทบัญญัติในพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดตั้งนิคมสร้างตนเอง หรือนิคมกสิกรรม และนิคมเกลือ ในรูปสหกรณ์ต่าง ๆ มารวมไว้ในพระราชบัญญัติฉบับนี้

  5. เหตุผลในการประกาศใช้กฎหมายเหตุผลในการประกาศใช้กฎหมาย  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยให้ความ คุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความ เสมอภาคของบุคคล รวมทั้งการห้ามเลือกปฏิบัติโดยไม่ เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความพิการ สภาพทาง กายหรือสุขภาพ

  6. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายและสิทธิประโยชน์ประชาชนกลุ่มเป้าหมายและสิทธิประโยชน์ ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ผู้ที่จะเป็นสมาชิกนิคมต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ (มาตรา 22) - มีสัญชาติไทย - บรรลุนิติภาวะและเป็นหัวหน้าครอบครัว - มีความประพฤติดีและเต็มใจปฏิบัติตามระเบียบที่อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการกำหนด

  7. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายและสิทธิประโยชน์ประชาชนกลุ่มเป้าหมายและสิทธิประโยชน์ - สามารถประกอบการเกษตรได้ - ไม่เป็นคนวิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ - ไม่มีที่ดินทำกินเป็นของตนเอง หรือมีแต่เพียงเล็กน้อยไม่พอแก่การครองชีพ - ไม่มีอาชีพอย่างใดอย่างหนึ่งในขณะนั้นพอแก่การครองชีพ

  8. สิทธิประโยชน์ สมาชิกนิคมที่ได้ทำประโยชน์ในที่ดินแล้วและเป็นสมาชิกนิคมมาเป็นเวลากว่า 5 ปี ได้ชำระเงินช่วยทุนรัฐและชำระหนี้เกี่ยวกับกิจการนิคมแล้ว จะได้รับหนังสือแสดงการทำประโยชน์ (น.ค.3) ซึ่งจะนำไปขอให้ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์สำหรับที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดินได้ต่อไป (มาตรา 11)  การจัดตั้งนิคมสร้างตนเอง : ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา (มาตรา 7)  การถอนสภาพนิคมสร้างตนเอง : รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 19)

  9. กลไกของกฎหมาย อำนาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ - อนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินไม่เกินครอบครัวละ 50 ไร่(มาตรา 8) - กำหนดระเบียบเพื่อทำการเกษตร โดยรัฐมนตรีอนุมัติ (มาตรา 9) - กำหนดอัตราเรียกเก็บเงินช่วยทุนรัฐที่รัฐบาลได้ลงไปในการจัดนิคม (มาตรา 10)

  10. กลไกของกฎหมาย  อำนาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ(ต่อ) -ดูแลและปฏิบัติการในที่ดินนิคมสร้างตนเอง รวมทั้งกำหนดระเบียบที่เกี่ยวข้อง (มาตรา 14 – 18) - จัดที่ดินและดำเนินกิจการนิคมให้เป็นไปตามกฎหมาย (มาตรา 24, 28 – 33)  อำนาจของผู้ปกครองนิคมสร้างตนเอง - จัดที่ดินและดำเนินกิจการนิคมให้เป็นไปตามกฎหมาย (มาตรา 24 – 25, 29)

  11. คณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกราษฎรเข้าเป็นสมาชิกนิคม(มาตรา 20, 21) ประกอบด้วย - ประธานกรรมการ - กรรมการอื่นอีกไม่น้อยกว่า 2 คน แต่ไม่เกิน 8 คน - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็นผู้แต่งตั้ง

  12. คณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกราษฎรเข้าเป็นสมาชิกนิคม (มาตรา 20, 21) อำนาจของคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกราษฎรเข้าเป็นสมาชิกนิคม - คัดเลือกผู้มีคุณสมบัติเข้าเป็นสมาชิกนิคม - จัดสมาชิกนิคมเข้าทำประโยชน์ในที่ดิน - ส่งเสริมการเกษตรและกิจกรรมอื่น ๆ เพื่อพัฒนาการสังคมและเศรษฐกิจของนิคมสร้างตนเอง

  13. บทกำหนดโทษ (มาตรา 41 – 42) ผู้บุกรุกที่ดิน หรือแสวงหาประโยชน์จาก ทรัพยากรของนิคมฯ หรือผู้ซึ่งฝ่าฝืนไม่ออกจากที่ดิน ตามคำสั่งของอธิบดีต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจำ ทั้งปรับ

  14. จบการนำเสนอ สวัสดี     

More Related