1 / 26

จัดทำโดย 1) นางสาว กรรณิการ์ ปัญญา เมืองใจ รหัส 542132002

สรุปและนำเสนอผลการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้ ISO 12207 สรุปงานวิจัยที่นำมาตรฐาน ISO 12207 มาใช้ในกระบวนการวิจัย. จัดทำโดย 1) นางสาว กรรณิการ์ ปัญญา เมืองใจ รหัส 542132002

Download Presentation

จัดทำโดย 1) นางสาว กรรณิการ์ ปัญญา เมืองใจ รหัส 542132002

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปและนำเสนอผลการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้ ISO 12207สรุปงานวิจัยที่นำมาตรฐาน ISO 12207 มาใช้ในกระบวนการวิจัย จัดทำโดย 1) นางสาวกรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ รหัส542132002 2)นางสาวชลนิศา พรหมเผือก รหัส542132030 3) นางสาวจงกลนี ช้างวิเศษ รหัส 542132029 4) นางสาววิลาวรรณ์ วงศ์ขัติย์ รหัส 542132032

  2. เรื่องที่ 1 1.ชื่อเรื่องงานวิจัยที่นำมาตรฐาน ISO 12207 มาใช้ในกระบวนการวิจัย เรื่อง การพัฒนาระบบการบริหารจัดการเจ้าหนี้ของคลินิก 2.วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาทฤษฎีและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับงานได้

  3. 3.วิธีการนำมาตรฐาน ISO 12207 มาประยุกต์ใช้ การนำ Waterfall Model มาใช้ในกระบวนการพัฒนา Software มี 8 ขั้นตอนดังต่อไปนี้ 3.1Requirement คือ กำหนดความต้องการของผู้ใช้และตรวจสอบความถูกต้องจากผู้จ้างและผู้ควบคุมคุณภาพ 3.2Specification คือระบุความต้องการเป็นเอกสาร ระบุสิ่งที่ซอฟแวร์ต้องทำได้ เช่น คู่มือการใช้ โดยทั้งนี้ต้องให้ผู้จ้างและผู้ควบคุมคุณภาพตรวจเอกสารแล้วเซ็นอนุมัติ 3.3Design คือ ออกแบบซอฟแวร์ว่าจะต้องสร้างระบบอย่างไรให้ทำงาน ต้องเขียนโปรแกรมอย่างไรให้ได้ซอฟแวร์ที่ดี 3.4Implementation คือ การส่งมอบงานออกแบบให้โปรแกรมเมอร์สร้างโมดูลประกอบ ทำซ้ำหลายรอบจนกว่าจะได้ซอฟแวร์ที่ตรงตาม Specification

  4. 3.5 Integration คือ การรวมโมดูลที่สร้างเสร็จและผ่านการทดสอบ 3.6 Verify คือให้มีการตรวจสอบจากผู้ควบคุมเสมอ 3.7 Test คือ การทดสอบ ทำขึ้นเพื่อระบุข้อผิดพลาดที่มีใน Software 3.8 Maintenance เมื่อไม่มีข้อผิดพลาดผู้ควบคุมระบบจะนำไปติดตั้งเพื่อให้ลูกค้าทำการทดสอบก่อนรับมอบสินค้า

  5. 4. การนำ ISO 12207 มาใช้ นำมาใช้ในการเน้นในส่วนของการกำหนดขั้นตอนทีละขั้นตอนในการผลิตซอฟแวร์ที่มีคุณภาพตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งจบขั้นตอนของการผลิตซอฟแวร์เพื่อให้การผลิตซอฟแวร์มีคุณภาพ

  6. เรื่องที่ 2 1.ชื่อเรื่องงานวิจัยที่นำมาตรฐาน ISO 12207 มาใช้ในกระบวนการวิจัย เรื่อง ระบบฐานข้อมูลข่าวภายในองค์กร 2.วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2.1 เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลข่าว สำหรับบริษัทสยามสปอร์ตซินดิเคต จำกัด 2.2 เพื่อจัดเก็บข้อมูลข่าวให้อยู่ในรูปแบบของ Webbaseเพื่อสะดวกต่อการใช้งาน 2.3 เพื่อควบคุมการทำงาน และประเมินคุณภาพการทำงานของบุคลากรในองค์กร

  7. 3. วิธีการนำมาตรฐาน ISO 12207 มาประยุกต์ใช้ นำมาตรฐาน ISO 12207 มาประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิต Software แบบ XP 4 ขั้นตอน 3.1 กำหนดความต้องการ(Planning)โดยใช้วิธีสัมภาษณ์บุคคลในองค์กรซึ่งข้อมูลที่ต้องการคือข้อมูล Text ข้อมูลภาพ และข้อมูลเสียง 3.2 การออกแบบระบบ(Designing)นำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจมาพัฒนาระบบโดยใช้หลักการของAgile คือมีการพัฒนาร่วมกันไปกับบุคลากรที่ใช้งาน Software 3.3 การสร้างและพัฒนาระบบ(Coding)พัฒนาโปรแกรมระบบฐานข้อมูลข่าวตามที่ได้ออกแบบและให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 3.4 การทดสอบระบบ(Testing)ทดสอบว่ามีความถูกต้องตามที่ได้ออกแบบไว้และทำการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องนั้น

  8. 4.การนำ ISO 12207 มาใช้ นำมาใช้ในกระบวนการในการพัฒนา Software โดยการนำISO 12207มาใช้ในกระบวนการผลิตและพัฒนา Software ทั้งนี้เพื่อสะดวกในการใช้งานละทำงานอย่างเป็นระบบ

  9. เรื่องที่ 3 1.ชื่อเรื่องงานวิจัยที่นำมาตรฐาน ISO 12207 มาใช้ในกระบวนการวิจัย เรื่อง ระบบการจัดการความรู้เพื่อพัฒนางานนิติกรคดีแพ่ง 2.วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2.1ศึกษาสภาพปัญหาของงานนิติกรคดีแพ่ง โดยนำการจัดการความรู้มาเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา 2.2เพื่อสร้างระบบการจัดการความรู้ด้านงานนิติกรคดีแพ่ง รวบรวมองคืความรู้การปฏิบัติงานที่เป็ฯหลักการสำคัญของงานนิติกรคดีแพ่ง อันเป็นการสนองตอบนโยบายการพัฒนาองค์กรอัยการสูงสุดในการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) และเป็นช่องทางการเรียนรู้ (E-Learning) ให้กับนิติกรคดีแพ่ง

  10. 3.วิธีการนำมาตรฐาน ISO 12207 มาประยุกต์ใช้ มีฐานข้อมูลเพื่อรวบรวมองค์ความรู้ และสนับสนุนการปฏบัติงานนิติกรคดีแพ่ง มีการกำหนดกิจกรรมที่เหมาะสม ระบบ KMS จะทำให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ปฏิบัติงานด้วยกันจากความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวบุคคล ปรับเปลี่ยนเป็นความรู้ที่ชัดแจ้ง เพื่อพัฒนาเป็นองค์ความรู้ใหม่ที่จะนำไปสู่การพัฒนา Best Practivesจากการเรียนรู้ นิติกรคดีแพ่งสามารถนำความรู้ดังกล่าวมาปรับใช้ในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถปฏิบัติงานเพื่อสนับสนุนการทำงานของพนักงานอัยการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับที่กฎหมายกำหนดโดยนำวิธีการมาตรฐานของระบบ ISO 12207 มาจัดทำรายการตามมาตรฐาน 15 Task 4.การนำ ISO 12207 มาใช้ ได้ทำการรวบรวมข้อมูล และทำการวิเคราะห์ข้อมูล และทำการวิเคราะห์ข้อมูล ENG1 , ENG2 , ENG3 , ENG4 , และ MAN1 ที่สามารถนำไปใช้ซ้ำในโครงการอื่นได้ และมีการดำเนินการเก็บ Domain ที่สำคัญที่สามารถนำไปใช้ซ้ำในโครงการ

  11. เรื่องที่ 4 1.ชื่อเรื่องงานวิจัยที่นำมาตรฐาน ISO 12207 มาใช้ในกระบวนการวิจัย เรื่อง ระบบการจัดการความรู้เพื่อพัฒนางานแผนงานฝึกอบรม 2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2.1เพื่อสร้างระบบการจัดการความรู้ด้านพัฒนางานแผนงานฝึกอบรม 2.2เพื่อสร้างระบบสารสนเทศ งานแผนงานฝึกอบรมเพื่อให้เป็นเครื่องมือในการทำงานวางแผนการฝึกอบรม

  12. 3. วิธีการนำมาตรฐาน ISO 12207 มาประยุกต์ใช้ ระบบการจัดการความรู้ (Knowledge Management System) และทฤษฎีการสร้างความรู้ (Knowledge Creating)ถือว่าเป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหาของคนทำงานซึ่งมีหน้าที่ในการพัฒนาบุคลากรเพื่อให้มีความรู้และทักษะในการกำหนดและจัดทำหลักสูตรการฝึกอบรมโดยนำวิธีการมาตรฐานของระบบ ISO 12207 มาจัดทำรายการตามมาตรฐาน 15 Task มาใช้ในการรวบรวมข้อมูลในแต่ละกิจกรรม 4.การนำ ISO 12207 มาใช้ เพื่อสามารถจัดการรวบรวมข้อมูลตามกิจกรรมต่าง ๆ และได้นำหลักการสังเคราะห์ความรู้ในงานเพื่อกำหนดและจัดทำหลักสูตร ตามวิธี Common KADSในการกำหนดและจัดทำหลักสูตรโดยใช้กระบวนการออกแบบเริ่มต้นที่การวิเคราะห์ความจำเป็นในการฝึกอบรม ประกอบด้วยการวิเคราะห์องค์กร (Oranization) การวิเคราะห์ภารกิจ อำนาจหน้าที่ (Job and Duty Area) การวิเคราะห์สมรรถนะที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน (Competency – based Training) การวิเคราะห์รูปแบบการฝึกอบรม (Strategy) เนื้อหาหลักสูตร (Content) เพื่อให้บุคลากรงานแผนงานฝึกอบรมใช้เป็น

  13. รูปแบบในการออกแบบเพื่อจัดทำหลักสูตรฝึกอบรมรูปแบบในการออกแบบเพื่อจัดทำหลักสูตรฝึกอบรม : งานกำหนดและจัดทำหลักสูตร : การวิเคราะห์ความจำเป็น : การวิเคราะห์ภารกิจหน้าที่ : การนำสมรรถนะมาใช้พัฒนา : วิธีการออกแบบหลักสูตร : กระบวนการพิจารณา : การวิพากษ์หลักสูตร : ผลการออกแบบหลักสูตร: การนำไปใช้

  14. เรื่องที่ 5 1. ชื่อเรื่องงานวิจัยที่นำมาตรฐาน ISO 12207 มาใช้ในกระบวนการวิจัย เรื่อง ระบบการจัดการความรู้สำหรับงานตรวจสอบภายในของสำนักงานอัยการสูงสุด 2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2.1 เพื่อศึกษาสภาพปัญหาของงานตรวจสอบภายในของสำนักงานอัยการสูงสุดโดยนำระบบการจัดการ ความรู้มาเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา 2.2 เพื่อสร้างระบบการจัดการความรู้ด้านงานตรวจสอบภายในของสำนักงานอัยการสูงสุด

  15. 3. วิธีการนำมาตรฐานISO 12207 มาประยุกต์ใช้ แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอนดังนี้ 3.1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน เก็บความต้องการของระบบ และศึกษาขั้นตอนการทำงานของหัวข้อความรู้ 3.2 วิเคราะห์และออกแบบระบบตามมาตรฐาน ISO 122007 3.3 ศึกษาเครื่องมือที่ใช้พัฒนาระบบการจัดการความรู้ 3.4 จัดทำเอกสารประกอบการใช้งานและพัฒนาระบบการจัดการองค์ความรู้ 3.5 ดำเนินการตามระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO 122007จำนวน 15 กิจกรรม 4.การนำ ISO 12207 มาใช้ ระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO 122007 จำนวน 15 กิจกรรม ที่นำมาใช้ดังนี้ 1. การสำรวจความต้องการ 2. การวิเคราะห์ความต้องการของระบบ 3. การวิเคราะห์ความต้องการของซอฟต์แวร์ 4. การออกแบบซอฟต์แวร์ 5. การจัดองค์กร 6. การจัดการองค์กร 7. การบริหารทรัพยากรมนุษย์

  16. 8. การฝึกอบรม 9. การจัดการความรู้ 10. โครงสร้างพื้นฐาน 11. การจัดการทรัพย์สิน 12. การใช้ซ้ำโปรแกรมข้อมูลต่างๆ 13. ความรู้เฉพาะงาน 14. การบริหารโครงการ 15. การประกันคุณภาพ

  17. เรื่องที่ 6 1. ชื่อเรื่องงานวิจัยที่นำมาตรฐาน ISO 12207 มาใช้ในกระบวนการวิจัย เรื่อง ระบบฐานข้อมูลข่าวภายในองค์กร 2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2.1 เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลข่าวภายในองค์กรสำหรับ บริษัท สยามสปอร์ตซินดิเคต จำกัด 2.2เพื่อจัดเก็บข้อมูลข่าวให้อยู่ในรูปแบบของ web base เพื่อสะดวกต่อการใช้งาน 2.3เพื่อควบคุมการทำงานและประเมินคุณภาพการทำงานของบุคลากรในองค์กร

  18. 3. วิธีการนำมาตรฐาน ISO 12207 มาประยุกต์ใช้ แบ่งออกเป็น4ขั้นตอนดังนี้ 3.1 กำหนดความต้องการโดยใช้วิธีสัมภาษณ์บุคลากรในองค์กร ตามแต่ละแผนกเพื่อกำหนดรูปแบบของข้อมูลที่แต่ละฝ่ายต้องการใช้งาน 3.2 การออกแบบระบบเป็นการนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจมาพัฒนาระบบ โดยใช้หลักของ AGILE คือมีการพัฒนาร่วมกันไปกับบุคลากรที่ใช้งานเพื่อให้งานที่ตรงตามความต้องการ 3.3 การสร้างและพัฒนาระบบ โดยการพัฒนาโปรแกรมระบบฐานข้อมูลข่าว ตามที่ได้ออกแบบและวางแผนไว้ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 3.4 ทดสอบความถูกต้องระบบ ว่าระบบมีความถูกต้องตามที่วิเคราะห์ออกแบบไว้ และทำการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องของระบบงานให้ถูกต้องและเหมาะสมตรงตามที่วิเคราะห์ออกแบบไว้ และจัดทำคู่มือการใช้งาน 3.5 ดำเนินการตามระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO 122007 จำนวน 15 กิจกรรม 4.การนำ ISO 12207 มาใช้ ใช้หลักการพัฒนาISO 122007 ให้ครอบคลุม 15 กระบวนการ ดังนี้ 1. การจัดซื้อจัดจ้าง 2. การสำรวจความต้องการ 3. การวิเคราะห์ความต้องการของระบบ 4. การออกแบบสถาปัตยกรรมของระบบ 5. การวิเคราะห์ความต้องการของซอฟต์แวร์ 6. การออกแบบซอฟต์แวร์ 7. การสร้างซอฟต์แวร์ 8. การประกอบซอฟต์แวร์ 9. การทดสอบซอฟต์แวร์ 10. การติดตั้งซอฟต์แวร์ 11. การบำรุงรักษาซอฟต์แวร์ 12. การบริหารโครงร่างซอฟต์แวร์ 13. การบริหารโครงการ 14. การประกันคุณภาพ 15. การบริหารการเปลี่ยนแปลง

  19. เรื่องที่ 7 1. ชื่อเรื่องงานวิจัยที่นำมาตรฐาน ISO 12207 มาใช้ในกระบวนการวิจัย เรื่อง ระบบการจัดการความรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการวินิจฉัยสั่งคดีอาญาของพนักงานอัยการ 2.วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2.1เพื่อรวบรวมต้นทุนทางปัญญา สร้างเป็นระบบการจัดการความรู้ งานตรวจสำนวนวินิจฉัยสั่งคดีอาญาของพนักงานอัยการในสำนักงานคดีอาญา ตลอดจนเสริมสร้างการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของพนักงานทุกระดับ 2.2เพื่อสร้างระบบสารสนเทศใช้ในการบรรจุองค์ความรู้ซึ่งเป็นต้นทุนทางปัญญา ที่นำไปใช้ในงานตรวจสำนวนพิจารณาคดดีอาญาของพนักงานอัยการให้มีประสิทธิภาพ เพื่ออำนวยความยติธรรมแก่ประชานชน โดยประโยชน์จากระบบการจัดการความรู้

  20. 3. วิธีการนำมาตรฐาน ISO 12207 มาประยุกต์ใช้ สร้างระบบการจัดการความรู้ (Knowledge Management System) เพื่อการเรียนรู้และเข้าถึงต้นทุนทางปัญญาที่มีอยู่ หรือ Explicit Knowledge โดยใช้แนวทางศึกษาด้วย ISO 12207 15 task :ENG1-ENG4ในรวบรวมความต้องการของระบบ ในเชิงธุรกิจ(Business Specification )และความต้องการของกลุ่มผู้งาน(User Specification) 4.การนำ ISO 12207 มาใช้ 1. ได้นำทฤษฎี การสร้างและรวบรวมต้นทุนทางปัญญามาใช้ในการศึกษาผ่านสมมุติฐาน กรอบ SFCP โดยแบ่งออกเป็นขั้นตอนตามแนวทาง ISO 12207 1.1 ศึกษาด้านกระบวนการสร้างและรวบรวมต้นทุนทางปัญญาในการสั่งคดี(Business Framework in Intellectual Capital ): ENG 1 ศึกษาความต้องการของระบบสารสนเทศแหล่งความรู้ KMS ของกรอบมาตรฐาน SFCP การรวมรวมและวิเคราะห์ข้อมูลและเครื่องมือ การวิเคราะห์ข้อมูล 2. ศึกษาข้อมูลเชิงปฎิบัติการ ในการนำการจัดการความรู้ ด้วยต้นทุนทางปัญญาสู่การปฎิบัติ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ โดยแบ่งออกเป็นขั้นตอนตามแนวทาง ISO 12207 MAN 1-MAN 3

  21. 2.1 ทบทวนวรรณกรรม 2.2 กำหนดแนวทาง เพื่อนำกรอบ SCEP มาใช้สั่งคดีอาญา 2.3 ทำกรอบหรือแผนงาน/โครงการเพื่อเป็นต้นแบบสู่แนวทางปฎิบัติ

  22. เรื่องที่ 8 1. ชื่อเรื่องงานวิจัยที่นำมาตรฐาน ISO 12207 มาใช้ในกระบวนการวิจัย เรื่อง ระบบการจัดการความรู้เพื่อพัฒนางานด้านการรับรองอุทธรณ์-ฎีกา ของพนักงานอัยการ 2.วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2.1ศึกษาสภาพปัญหาของงานด้านการรับรองอุทธรณ์-ฎีกา โดยนำระบบการจัดการความรู้มาเป็นแนวทางในการแก้ปัญหา 2.2เพื่อสร้างระบบการจัดการความรู้ในงานด้านการรับรองอุทธรณ์ –ฎีกา

  23. 3. วิธีการนำมาตรฐาน ISO 12207 มาประยุกต์ใช้ สร้างระบบการจัดการความรู้ (Knowledge Management System) เพื่อพัฒนางานด้านการรับรองฎีกาในปัญหาตามข้อเท็จจริงตามมารตฐาน ISO12207 ทำให้ได้ระบบ KMS สำหรับเป็นเครื่องมือช่วยให้ Knowledge worker ใช้ในการทำงานให้มีประสิทธิภาพและช่วยให้ผู้บริหารใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจได้ รวมทั้งอออกแบบกิจกรรมการสื่อสารความเข้าใจเพื่อให้การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือในการทำงาน รวมทั้งได้ข้อสังเกตการทำงานที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบ KMS ต่อไป เพื่อให้ได้ระบบ KMS ที่ถูกต้องตามาตรฐานสากล โดยยึดกรอบแนวทางในการดำเนินการตามวิธีการวิศวกรรมความรู้(Knowledge Engineer) 4.การนำ ISO 12207 มาใช้ มีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ตามกระบวนการตาม International Standard ISO 12207 : Standard For International Technology –software life cycle process มาเป็นกรอบในกรดำเนินกิจกรรม กระบวนการทำงานภายใต้มาตราฐาน ISO 12207 ซึ่งแบ่งออกเป็น 14 ภารกิจ ภารกิจที่ 1 ENG 1 RequirementElicitation การเก็บความต้องการ ( CommonKADS :Scoping, Knowledge Capture ,Case Study,Validation Meetings ) ภารกิจที่ 2 ENG 2 System RequirementAnalysis การวิเคราะห์ความต้องการระบบงาน (IEE830: Business Specification, User Specification ) ภารกิจที่ 3 ENG 3 Software RequirementAnalysis

  24. การวิเคราะห์ความต้องการซอฟแวร์ (IEE830: System Specification, User Specification )ภารกิจที่ 4 ENG 4 Software Design การออกแบบซอฟต์แวร์ (IEE830: Functional Specification, Design Specification ) ภารกิจที่ 5 MAN 1 Main Organization Alignment การสื่อสารภายในองค์กร (Strategic Planning ,Roll-out –KM Vision + People /Process/Technology Mission ) ภารกิจที่ 6 MAN 2 Organization Management การจัดการองค์กร (Work Breakdown Structure, Organization Structure + Job (Cop =KM,KE, Expert ,User) ภารกิจที่ 7 MAN 3 Project Management การจัดการโครงการ (Time Schedule, Resources (Depletion/Non –Depletion =Resource Calendar , Cash flow +Gantt chart Action Plan ) ภารกิจที่ 8 RIN 1 Human Resource Management การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Organization Analysis –Functions –Job – Manpower) ภารกิจที่ 9 RIN 2 Training การฝึกอบรม (Duties Tasks –Knowledge +Skill+ attitude –Gap Analysis- training need ) ภารกิจที่ 10 RIN 3 Knowledge Management การจัดการความรู้ (Portal Software for KMS Project –Domain Repository +Portal) ภารกิจที่ 11 RIN 4 Infrastructure โครงสร้างพื้นฐาน (Cost Benefit Analysis – Cost of Infrastructure , Cost of Development .Ease of Development .Interface Capabilities ,Control and Security ,Scalability ) ภารกิจที่ 12 RUE 1 Asset Management การจัดการทรัพย์สิน (Balance Service Performance ,Economic Performance, Registration ,Classification ,Life, Risk Management -invest ,outsource ,lease ,rent, maintain, keep, upgrade, replace , dispose ) ภารกิจที่ 13 RUE 2 Reuse Program Management การใช้ซ้ำโปรแกรมข้อมูลต่าง ๆ (Normalization) ภารกิจที่ 14 RUE 3 Domain Engineering ความรู้เฉพาะงาน (CommonKADKnowledge Model)

  25. เอกสารอ้างอิง www.km.camt.cmu.ac.th www.research.it.mut.ac.th

  26. จบการนำเสนองาน ขอบคุณค่ะ

More Related