1 / 40

การประชุมเชิงปฏิบัติการ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ. การบริหารผลการปฏิบัติงานสำหรับลูกจ้างประจำและพนักงานราชการ. ครั้งที่ 1 วันพฤหัสบดีที่ 4 สิงหาคม 2554. ณ โรงแรมแกรนด์ ทาวเวอร์อินน์ กรุงเทพมหานคร. ลำดับขั้นการชี้แจง. ช่วงที่ 1 : 09.00 – 10.30 น. ลำดับขั้นการชี้แจง. ช่วงที่ 2 : 10.45 – 12.00 น.

norah
Download Presentation

การประชุมเชิงปฏิบัติการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมเชิงปฏิบัติการการประชุมเชิงปฏิบัติการ การบริหารผลการปฏิบัติงานสำหรับลูกจ้างประจำและพนักงานราชการ ครั้งที่ 1 วันพฤหัสบดีที่ 4 สิงหาคม 2554 ณ โรงแรมแกรนด์ ทาวเวอร์อินน์ กรุงเทพมหานคร

  2. ลำดับขั้นการชี้แจง ช่วงที่ 1 : 09.00– 10.30 น.

  3. ลำดับขั้นการชี้แจง ช่วงที่ 2 : 10.45– 12.00 น.

  4. ลำดับขั้นการชี้แจง ช่วงที่ 3 : 13.00– 14.30 น.

  5. ลำดับขั้นการชี้แจง ช่วงที่ 4 : 14.45– 16.30 น.

  6. ภาพรวมการบริหารผลการปฏิบัติราชการภาพรวมการบริหารผลการปฏิบัติราชการ 3 1 ช่วงที่ 1 : เริ่มรอบการประเมิน ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน มอบหมายตัวชี้วัด ลงนามรับทราบตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย 2 ก.ย. ต.ค. 1 2 ส.ค. 2 พ.ย. 2 2 ก.ค. ธ.ค. ช่วงที่ 2 : ระหว่างรอบการประเมิน ติดตามความก้าวหน้า ปรับปรุง พัฒนางาน ม.ค. มิ.ย. 2 2 ช่วงที่ 3 : ครบรอบการประเมิน ประเมินผล จัดทำประกาศ พิจารณาเลื่อนเงินเดือน ก.พ. พ.ค. 2 เม.ย. มี.ค. 2 2 1 3

  7. ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ ระดับ ผอ.หน่วยงาน กรมแจ้งตัวชี้วัด เจรจาตัวชี้วัด ประกาศตัวชี้วัดหลังการเจรจา กำหนดตัวชี้วัด ระดับบุคคล จัดทำตัวชี้วัดระดับบุคคลทุกคน ข้าราชการบันทึกตัวชี้วัดใน DPIS 1 2 3 ระดับ ผอ. หน่วยงาน และ ระดับบุคคล ดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการและตัวชี้วัดระดับบุคคล ตัดยอดผลการปฏิบัติราชการระดับบุคคล ปฏิบัติราชการ ตัดยอดผลงาน ตัดยอดผลการเบิกจ่ายงบประมาณจาก GFMIS ส่งรายงานผล ประมวลผลงาน แจ้งผลประเมินและการขอยื่นอุทธรณ์ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดับ ผอ. หน่วยงาน ระดับบุคคล แจ้งยอดเงินที่ได้รับจัดสรร ประเมินผลการปฏิบัติราชการ บริหารวงเงิน ส่งประกาศ, ผลการประเมิน, ผลการแจ้งร้อยละของการเลื่อนเงินเดือนระดับเจ้าหน้าที่ ให้ กจ.

  8. ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ ระดับ ผอ. หน่วยงาน และระดับบุคคล อุทธรณ์ผลการประเมินผลการปฏิบ้ติราชการ ยื่นอุทธรณ์ รวบรวมและตรวจสอบ พิจารณาการอุทธรณ์ นำผลการขออุทธรณ์ไปใช้ในการเลื่อนเงินเดือน 4 5 พิจารณาเลื่อนเงินเดือน ระดับ ผอ. หน่วยงาน และ ระดับบุคคล คณะกรรมการกลั่นกรองฯ พิจารณาการเลื่อนเงินเดือน คณะกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคล พิจารณาการเลื่อนเงินเดือน นำเสนอกรมให้ความเห็นชอบการเลื่อนเงินเดือน หมายเหตุ กจ. หมายถึง กองการเจ้าหน้าที่ พบ. หมายถึง กลุ่มงานพัฒนาระบบบริหาร ศท. หมายถึง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ กค. หมายถึง กองคลัง คกก. หมายถึง คณะกรรมการกลั่นกรองผลการประเมิน

  9. การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ

  10. การประเมินผลงานและสมรรถนะการประเมินผลงานและสมรรถนะ ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ รอบการประเมินที่ 2 ปีงบประมาณ 2554 1

  11. การประเมินผลงานและสมรรถนะการประเมินผลงานและสมรรถนะ ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ รอบการประเมินที่ 2 ปีงบประมาณ 2554 2

  12. การประเมินผลงานและสมรรถนะการประเมินผลงานและสมรรถนะ ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ รอบการประเมินที่ 2 ปีงบประมาณ 2554 3 4 ให้ประเมินสมรรถนะในรูปแบบคณะกรรมการ โดยวิธี Rating Scale

  13. การประเมินผลงานและสมรรถนะการประเมินผลงานและสมรรถนะ ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ รอบการประเมินที่ 2 ปีงบประมาณ 2554

  14. การพิจารณากลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติงานการพิจารณากลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติงาน คำสั่งกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ที่ 600/2552 ลงวันที่ 4 ธันวาคม 2552 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการ ให้มีอำนาจหน้าที่ในการเสนอความเห็นเกี่ยวกับมาตรฐานและความเป็นธรรม และผลการประเมินการปฏิบัติราชการก่อนเสนอคณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรม

  15. การพิจารณากลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติงาน (สำหรับข้าราชการทั่วไป) คณะกรรมการกลั่นกรองฯ ระดับหน่วยงาน ประเมินผลการปฏิบัติราชการจากตัวชี้วัดระดับบุคคล ประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการจากสมรรถนะ จัดทำรายงานการประชุมตามมติคณะกรรมการของหน่วยงาน แจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบ โดยการให้ลงนามรับทราบเป็นรายบุคคล ขออุทธรณ์โดยการแสดงเอกสารหลักฐานผลงาน ไม่ลงนามรับทราบ ครั้งที่ 1 ลงนามรับทราบ ไม่ลงนามรับทราบ ครั้งที่ 2 • ส่งเอกสารที่เกี่ยวข้องให้กองการเจ้าหน้าที่ ได้แก่ • แบบสรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ (กรณีไม่ลงนามรับทราบ ให้มีพยานลงนามได้) • รายงานการประชุมคณะกรรมการกลั่นกรองระดับหน่วยงาน กองการเจ้าหน้าที่เสนอคณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรม คณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรมเสนอความเห็นกรมพิจารณาให้ความเห็นชอบเลื่อนเงินเดือน

  16. การพิจารณากลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติงาน (สำหรับผู้อำนวยการ) เฉพาะรอบการประเมินที่ 2/2554 กองการเจ้าหน้าที่รวบรวมคะแนนผลการปฏิบัติงานของผู้อำนวยการ (ภายหลังการอุทธรณ์เรียบร้อยแล้ว) จากกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กองการเจ้าหน้าที่รวบรวมคะแนนผลการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ (สมรรถนะ) ที่ได้จากผู้บริหารระดับกรม กจ.ประมวลคะแนนจากผลการปฏิบัติราชการและสมรรถนะ กองการเจ้าหน้าที่เสนอคณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรม คณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรมเสนอกรมพิจารณาให้ความเห็นชอบเลื่อนเงินเดือน

  17. หลักเกณฑ์การเลื่อนเงินเดือนหลักเกณฑ์การเลื่อนเงินเดือน สรุปตามกฎ ก.พ.ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 และ ประกาศกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2553 • แต่ละคนเลื่อนเงินเดือนไม่เกินร้อยละ 6 ของฐานในการคำนวณ ต่อ 1 รอบ • ห้ามหารเฉลี่ย (ทุกคนในส่วนราชการได้ร้อยละเท่ากันไม่ได้) • ผลการประเมิน “ต้องปรับปรุง” คะแนนต่ำกว่าร้อยละ 60 ไม่ได้เลื่อนเงินเดือน • เลื่อนเงินเดือนได้ไม่เกินเงินเดือนสูงสุดที่กำหนดแต่ละสายงาน • สั่งเลื่อนเงินเดือน ณ 1 เม.ย. / 1 ต.ค. ยกเว้น • ผู้เกษียณอายุ สั่งเลื่อน 30 ก.ย. • ผู้เสียชีวิต (ปฏิบัติงานครบ 4 เดือน) สั่งเลื่อนให้มีผลวันที่เสียชีวิต • 6. ยกเลิกการรอเลื่อนเงินเดือน : ผู้ถูกตั้งกรรมการสอบวินัยร้ายแรงและผู้ถูกฟ้องคดีอาญา (หากถูกลงโทษ ต้องงดเลื่อนเงินเดือนในรอบการประเมินนั้น) • 7. บรรจุใหม่ จะต้องทำงานไม่น้อยกว่า 4 เดือน

  18. หลักเกณฑ์การเลื่อนเงินเดือนหลักเกณฑ์การเลื่อนเงินเดือน สรุปตามกฎ ก.พ.ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 และ ประกาศกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2553 8. ลาศึกษา/ฝึกอบรม จะต้องทำงานไม่น้อยกว่า 4 เดือน 9. ไม่ถูกสั่งพักราชการเกิน 2 เดือน 10. ไม่ขาดราชการโดยไม่มีเหตุอันควร 11. ลาป่วยและลากิจเกิน 10 ครั้ง หรือจำนวนวันลาเกิน 23 วัน หรือมาทำงานสายเกิน 18 ครั้ง 12. ลาไม่เกิน 23 วันทำการ โดยไม่รวมลาอุปสมบท/ลาคลอด/ป่วยจำเป็น (ต้องไม่เกิน 60 วันทำการ)/ป่วยประสบอันตราย/ตรวจเลือก/เตรียมพล/ ทำงานองค์การระหว่างประเทศ 13. แจ้งผลการเลื่อนเงินเดือนเฉพาะบุคคล/แจ้งเหตุผลผู้ที่ไม่ได้เลื่อนเงินเดือน

  19. ฐานในการคำนวณและช่วงเงินเดือนใหม่ฐานในการคำนวณและช่วงเงินเดือนใหม่

  20. แบบฟอร์มต่างๆที่ต้องใช้แบบฟอร์มต่างๆที่ต้องใช้ แบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  21. แบบฟอร์มต่างๆที่ต้องใช้แบบฟอร์มต่างๆที่ต้องใช้ แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ (สมรรถนะ)

  22. เอกสารต่างๆ ที่ต้องส่งให้กองการเจ้าหน้าที่

  23. เอกสารต่างๆ ที่ต้องส่งให้กองการเจ้าหน้าที่

  24. การส่งผลงานสำหรับผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการการส่งผลงานสำหรับผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ สำหรับรอบการประเมินที่ 2/2554 1 ตัดผลงานมิติที่ 2 และมิติที่ 4 วันที่ 15 กันยายน 2554 ตัดผลงานมิติที่ 3 (ตัดยอดการเบิกจ่าย) วันที่ 30 กันยายน 2554 ตัดผลงานมิติที่ 1 (DATA CENTER) วันที่ 4 ตุลาคม 2554 รายงาน SAR ส่งให้ พบ. ตามปฏิทิน 2 ส่งเอกสาร

  25. สำหรับปีงบประมาณ 2555

  26. ตัวชี้วัดบังคับสำหรับข้าราชการจะใช้ปี 2555 เป็นต้นไป ระดับปฏิบัติการ ชำนาญงาน ปฏิบัติงาน

  27. ตัวชี้วัดบังคับสำหรับข้าราชการจะใช้ปี 2555 เป็นต้นไป ระดับชำนาญการ

  28. ตัวชี้วัดบังคับสำหรับข้าราชการจะใช้ปี 2555 เป็นต้นไป ระดับชำนาญการพิเศษ

  29. หลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการและสมรรถนะสำหรับปีงบประมาณ 2555

  30. หลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการและสมรรถนะสำหรับปีงบประมาณ 2555

  31. หลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการและสมรรถนะสำหรับปีงบประมาณ 2555

  32. หลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการและสมรรถนะสำหรับปีงบประมาณ 2555 ให้ประเมินสมรรถนะในรูปแบบคณะกรรมการ โดยวิธีจุดอ่อนจุดแข็งเชิงพฤติกรรมของผู้รับการประเมินจากพจนานุกรมรายการสมรรถนะของสำนักงาน ก.พ.

  33. หลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการและสมรรถนะสำหรับปีงบประมาณ 2555

  34. แนวปฏิบัติการถ่ายทอดตัวชี้วัดกรณีที่หน่วยงานไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการแนวปฏิบัติการถ่ายทอดตัวชี้วัดกรณีที่หน่วยงานไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ ตามหนังสือกองการเจ้าหน้าที่ ที่ รง 0415/4016 ลงวันที่ 22 พฤศจิกายน 2553 1. การลงนามรับทราบตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายและสมรรถนะช่วงต้นรอบ ภายหลังจากที่กรมแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการแล้ว จากนั้นหัวหน้าฝ่าย/งานบริหารทั่วไปนำเสนอให้ผู้ดำรงตำแหน่งลงนามรับทราบและส่งให้ กจ. โดยทันที 2. การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับบุคคล ให้ผู้รักษาราชการแทนในตำแหน่งผู้อำนวยการดำเนินการถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับบุคคลจนกว่าจะมีการแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ และรายงานให้ผู้อำนวยการทราบโดยทันที 3. การบันทึกตัวชี้วัด ให้บันทึกเฉพาะชื่อผู้ให้ข้อมูลไว้ก่อน จากนั้นเมื่อครบรอบการประเมินจึงจะไปบันทึกชื่อผู้ประเมินให้สมบูรณ์อีกครั้ง

  35. ประกาศกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน • เรื่อง แนวปฏิบัติในการจัดทำคำมั่นในการพัฒนาปรับปรุงตนเอง • กรณีข้าราชการมีผลการปฏิบัติราชการในระดับที่ต้องปรับปรุง • ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2553 หากมีข้าราชการที่มีคะแนนผลการปฏิบัติงานต่ำกว่า ร้อยละ 60 ให้แต่ละหน่วยงานดำเนินการดังนี้ ผู้บังคับบัญชาต้องแจ้งให้ทราบและทำคำมั่นในการปรับปรุงตนเอง ในรอบการประเมินถัดไป ให้กำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติม และใส่คำอธิบายต่อท้ายตัวชี้วัดว่า “คำมั่นในการพัฒนาปรับปรงตนเอง” ทำคำมั่นในการปรับปรุงตนเองได้ไม่เกิน 3 รอบประเมิน ในกรณีที่ผู้ถูกประเมินเห็นว่า การประเมินไม่เป็นธรรมอาจทำคำคัดค้านยื่นต่อผู้บังคับบัญชาได้ ให้ผู้บังคับบัญชาหน่วยงานรายงานต่ออธิบดี หากปรากฎว่า ผู้นั้นไม่ผ่านการประเมินในระดับอันเป็นที่พอใจของทางราชการตามคำมั่นในการปรับปรุงตนเอง

  36. แนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมินแนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมิน ตามหนังสือกองการเจ้าหน้าที่ ที่ รง 0415/0920 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2554 • ให้คงตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายเดิมไว้ทั้งหมด และเพิ่มเติมตัวชี้วัดบางตัวพร้อมตั้งค่าเป้าหมายใหม่ • ให้ประเมินผลการปฏิบัติงานจาก 2 หน่วยงาน โดยใช้แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานและแบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ 2 ชุด โดยให้หน่วยงานเดิมให้คะแนนก่อน และหน่วยงานใหม่ทำการประเมินตามตัวชี้วัดที่กำหนดขึ้นใหม่นั้น • 3. ไม่ต้องบันทึกตัวชี้วัดลงในระบบ DPIS • 4. กำหนดน้ำหนักผลคะแนนที่ได้รับตามจำนวนเดือนที่ปฏิบัติงาน ทั้งนี้ หากจำนวนวันมากกว่า 15 วันให้นับเป็น 1 เดือน • 5. ให้เลื่อนเงินเดือนกับหน่วยงานที่ผู้ปฏิบัติงานที่ปฏิบัติงานจริง ณ วันที่ 1 มีนาคม (ตามรอบการประเมินที่ 1) และ ณ วันที่ 1 กันยายน (ตามรอบการประเมินที่ 2)

  37. แนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมินแนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมิน ตัวอย่าง ในรอบการประเมินที่ 2/2554 (1 เมษายน – 30 กันยายน 2554) • นาย ก. ปฏิบัติหน้าที่ ณ กองการเจ้าหน้าที่ ระหว่างวันที่ 1 เมษายน – 31 กรกฎาคม 2554 • (รวม 4 เดือน) • 2. นาย ก. ย้ายไปปฏิบัติหน้าที่ ณ กองแผนฯ ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม – 30 กันยายน 2554 • (รวม 2 เดือน)

  38. แนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมินแนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมิน ตัวอย่าง ขั้นตอนที่ 1 : ประเมินผลจากทั้งสองหน่วยงาน

  39. แนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมินแนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมิน ตัวอย่าง ขั้นตอนที่ 2 : ให้น้ำหนักผลคะแนนประเมินจากจำนวนเดือน

  40. แนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมินแนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมิน ตัวอย่าง ขั้นตอนที่ 3 : คำนวนคะแนนผลงานตามสัดส่วนจำนวนเดือน 82 x 60/100 = 49.2 90 x 40/100 = 36 49.2 + 36 = 85.2

More Related