1 / 50

กลิ่นจันทน์ เขียวเจริญ

การใช้กระบวนการจัดการความรู้พัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ( Knowledge Management : KM ). กลิ่นจันทน์ เขียวเจริญ. วัตถุประสงค์. เพื่อให้เข้าใจหลักการและขั้นตอนของการจัดการความรู้ นำความรู้ไปใช้เป็นแนวทางในการกำหนดเป้าหมายและแผนงานเรื่องการจัดการความรู้ ในองค์กร.

noel
Download Presentation

กลิ่นจันทน์ เขียวเจริญ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้กระบวนการจัดการความรู้พัฒนาการใช้กระบวนการจัดการความรู้พัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ (Knowledge Management : KM) กลิ่นจันทน์ เขียวเจริญ

  2. วัตถุประสงค์ • เพื่อให้เข้าใจหลักการและขั้นตอนของการจัดการความรู้ • นำความรู้ไปใช้เป็นแนวทางในการกำหนดเป้าหมายและแผนงานเรื่องการจัดการความรู้ ในองค์กร

  3. ความรู้ มี 2 ประเภท ความรู้ที่ชัดแจ้ง(Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่เป็นเหตุเป็นผล สามารถรวบรวมและถ่ายทอด ออกมาในรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น หนังสือ คู่มือ เอกสาร และ รายงานต่างๆ ตลอดจนคนสามารถเข้าถึงได้ง่าย) 1 2 3 อธิบายได้ แต่ยังไม่ถูกนำไปบันทึก อธิบายได้ แต่ไม่อยากอธิบาย อธิบายไม่ได้ ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) ในความรู้ที่อยู่ในตัวคนแต่ละคน เกิดจากประสบการณ์ การเรียนรู้ หรือพรสวรรค์ ซึ่งถ่ายทอดออกมาเป็นเอกสาร ลายลักษณ์อักษรได้ยาก สามารถแบ่งปันกันได้ เป็นความรู้ทีทำให้เกิดการได้เปรียบในการแข่งขัน Tomohiro Takanashi

  4. รูปแบบของความรู้ ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เอกสาร (Document) - กฎ ระเบียบ (Rule), วิธีปฏิบัติงาน (Practice) ระบบ (System) สื่อต่างๆ – วีซีดี ดีวีดี เทป Internet ทักษะ (Skill) ประสบการณ์ (Experience) ความคิด (Mind of individual) พรสวรรค์ (Talent )

  5. วงจรความรู้ (Knowledge Spiral: SECI Model) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) Socialization Externalization ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) Combination Internalization ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ( อ้างอิงจาก : Nonaka & Takeuchi )

  6. คุณค่าของ “ความรู้” ความรู้เป็นสินทรัพย์ ใช้แล้วไม่มีวันหมด ยิ่งใช้ยิ่งเพิ่ม ยิ่งใช้มากเท่าไร ยิ่งมีคุณค่าเพิ่มมากขึ้น

  7. องค์ประกอบสำคัญของวงจรความรู้องค์ประกอบสำคัญของวงจรความรู้ • คนถือว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด • - เป็นแหล่งความรู้ • - เป็นผู้นำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 2. เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือเพื่อให้คนสามารถค้นหา จัดเก็บแลกเปลี่ยน นำความรู้ไปใช้ได้อย่างง่ายและรวดเร็วขึ้น 3. กระบวนการความรู้เป็นการบริหารจัดการเพื่อนำความรู้จากแหล่งความรู้ไปให้ผู้ใช้ เพื่อทำให้เกิดการปรับปรุงและนวัตกรรม

  8. ความหมายการจัดการความรู้ความหมายการจัดการความรู้ ก.พ.ร.:การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในส่วนราชการซึ่งกระจัดกระจาย อยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบเพื่อให้ทุกคนใน องค์การสามารถเข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้ง ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์การมีความ สามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด

  9. ประโยชน์ของการจัดการความรู้ประโยชน์ของการจัดการความรู้ เพิ่มศักยภาพในการตัดสินใจ สร้างการยอมรับ เกิดความยืดหยุ่น นวัตกรรม ประโยชน์ที่ได้รับ เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล พัฒนาคุณภาพ ลดการทำงานซ้ำซ้อน ที่มา: The Cap Gemini Ernst & Young การกระจายอำนาจ สัดส่วนผู้เห็นด้วย 90% 50% 60% 70% 80%

  10. จุดประสงค์การทำ KM BSI Study: KM in Public Sector ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการให้บริการ ผลักดันให้เกิดการสร้างนวัตกรรม เพิ่มประสิทธิภาพ ในการทำงาน ช่วยให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาบุคลากร เรียนรู้เกี่ยวกับความต้องการของผู้ใช้บริการได้ดีขึ้นและ เร็วขึ้น

  11. เป้าหมายการจัดการความรู้ คนและ องค์กร เก่งขึ้น เติบโตขึ้น อย่างยั่งยืน องค์กร บรรลุเป้าหมาย มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล (บรรลุเป้าหมาย) การทำงาน คิดเป็น ทำเป็น คน

  12. การจัดการ การจัดการความรู้ในองค์กร 7. การเรียนรู้ (Learning) 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) 4. การประมวลและ กลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition)

  13. เป้าหมาย (Desired State) กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) ความรู้อยู่ที่ใครอยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) จะแบ่งประเภทหัวข้ออย่างไร 3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร 4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ 5.การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์การ หรือไม่ทำให้องค์การดีขึ้นหรือไม่ 7.การเรียนรู้ (Learning)

  14. กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) - การบ่งชี้ความรู้ที่องค์กรจำเป็นต้องมี - วิเคราะห์รูปแบบและแหล่งความรู้ที่มีอยู่ เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) - สร้างและแสวงหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ ที่กระจัดกระจายทั้งภายใน/ภายนอก เพื่อจัดทำเนื้อหาให้ตรงกับความต้องการ ความรู้อยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร

  15. กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) • 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ • (Knowledge Organization) • แบ่งชนิดและประเภทของความรู้ เพื่อจัดทำระบบให้ง่ายและสะดวกต่อการค้นหาและใช้งาน จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร • 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ • (Knowledge Codification and Refinement) • จัดทำรูปแบบและ “ภาษา”ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วทั้งองค์กร • เรียบเรียงปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยและตรงกับความต้องการ จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร

  16. กระบวนการจัดการความรู้(Knowledge Management Process) เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ • 5. การเข้าถึงความรู้(Knowledge Access) • ความสามารถในการเข้าถึงความรู้ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ในเวลาที่ต้องการ

  17. กระบวนการจัดการความรู้(Knowledge Management Process) • 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ • (Knowledge Sharing) • การจัดทำเอกสาร การจัดทำฐานความรู้ ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) • ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring System) • การสับเปลี่ยนงาน (Job Rotation) มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์กรหรือไม่ ทำให้องค์กรดีขึ้นหรือไม่ • 7. การเรียนรู้ • (Learning) • นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ • แก้ปัญหาและปรับปรุงองค์กร

  18. ทำอย่างไรให้กระบวนการจัดการความรู้ “มีชีวิต” • รู้ว่าจะทำอะไร • ทำแล้ว ตัวเอง ได้ประโยชน์อะไร คน ต้อง “อยาก” ทำ คน ต้องมีทรัพยากรที่จำเป็น (เครื่องมือ ฯลฯ) คน ต้องรู้ว่าทำอย่างไร (ฝึกอบรม, เรียนรู้) คน ต้องประเมินได้ว่าทำได้ตามเป้าหมายหรือ ทำแล้วได้ประโยชน์หรือไม่ คน ต้อง “อยาก” ทำ และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (มีแรงจูงใจ)

  19. เป้าหมาย ภาพในอนาคตของ KM (ในขอบเขตที่กำหนด) ต้องวัดได้

  20. พันธกิจ/วิสัยทัศน์ 2 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ • ความรู้ที่สำคัญต่อองค์กร • ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า • ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ • ประสบการณ์ความรู้ที่องค์กรสั่งสม • ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ • ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการ • ความรู้ที่มีอยู่ในบุคลากร • ฯ ล ฯ 1 กลยุทธ์ ปัญหา (Work process) กระบวนงาน (ขอบเขต KM) KM Focus Areas (เป้าหมาย KM) Desired State of KM Focus Areas แนวทางการกำหนดขอบเขต KM และเป้าหมาย KM KM Action Plans (แผนการจัดการความรู้) KM Process Change Management Process

  21. ขอบเขต KM (KM Focus Areas) เป็นหัวเรื่องกว้างๆของความรู้ที่จำเป็นและสอดคล้องกับ กลยุทธ์ขององค์กร ที่จะนำมาดำเนินการจัดการความรู้ (KM) โดยจะส่งผลกระทบต่อผลลัพธ์ (Outcome) ขององค์กร ทางด้าน Innovation, Operational, Customer หรือด้านอื่นๆ และจะนำมาใช้เป็นแนวทางในการกำหนดเป้าหมาย KM (Desired State) ต่อไป

  22. เป้าหมาย KM(Desired State) เป็นหัวเรื่องของความรู้ที่จำเป็นและสอดคล้องกับขอบเขต KM (KM Focus Areas) ที่ได้เลือกมาจัดทำ และต้องสามารถ วัดผลได้เป็นรูปธรรม ที่มีต่อผลงาน (Output) ของบุคคลากร ในองค์กร หรืออาจจะมีผลต่อผลลัพธ์ (Outcome) ก็ได้ ถ้า เป้าหมาย KM และขอบเขต KM เป็นเรื่องเดียวกัน และจะนำมาใช้เป็นแนวทางในการจัดทำแผนการจัดการ ความรู้ (KM Action Plan) ต่อไป

  23. แบบฟอร์ม การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ/จังหวัด ชื่อส่วนราชการ/จังหวัด : ………………………………………………………………… หน้าที่ : ….. / ….. ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ (Objective) ตัวชี้วัด (KPI) ตามคำรับรอง เป้าหมายของตัวชี้วัด องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติ ราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่เลือกมาจัดทำแผนการจัดการความรู้ คือ แผนการจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ : ความรู้แผนที่ 1 องค์ความรู้ที่จำเป็น : เหตุผลที่เลือกองค์ความรู้ : ตัวชี้วัดตามคำรับรองและเป้าหมายที่เลือกใช้วัดการทำ KM : แผนการจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ : ความรู้แผนที่ 2 องค์ความรู้ที่จำเป็น : เหตุผลที่เลือกองค์ความรู้ : ตัวชี้วัดตามคำรับรองและเป้าหมายที่เลือกใช้วัดการทำ KM : • ผู้ทบทวน : ………………………………..……… • ผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO) • ผู้อนุมัติ : …………………………………..……… • ผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ (CEO)

  24. แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) หน้าที่ …./…..

  25. ตัวอย่างแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) (หน้าที่ 1/…) ให้ระบุระยะเวลาของการดำเนินกิจกรรมในแต่ละขั้นตอน ให้ระบุรายละเอียดกิจกรรมหรือสิ่งที่องค์กรจะทำเพื่อให้บรรลุผลในแต่ละขั้นตอน ให้ระบุค่าเป้าหมายของผลสำเร็จของแต่ละกิจกรรม ให้ระบุเครืองมือ/อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ในแต่ละกิจกรรม ให้ระบุงบประมาณค่าใช้จ่ายของแต่ละกิจกรรม ใช้แสดงความคืบหน้าของผลงาน ให้ระบุตัวชี้วัดผลสำเร็จของแต่ละกิจกรรม

  26. ถาม-ตอบ

  27. กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลงกระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) การวัดผล (Measurements) การเรียนรู้ (Learning) เป้าหมาย (Desired State) กระบวนการ และเครื่องมือ (Process Tools) การสื่อสาร (Communication) การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) Robert Osterhoff

  28. 4 5 6 การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) การวัดผล (Measurements) การเรียนรู้ (Learning) เป้าหมาย (Desired State) 2 1 3 กระบวนการ และเครื่องมือ (Process &Tools) การสื่อสาร (Communication) การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) • การมีส่วนร่วมและสนับสนุนจากผู้บริหาร • โครงสร้างพื้นฐานขององค์กร • ทีม/หน่วยงานที่รับผิดชอบ • มีระบบการติดตามและประเมินผล • กำหนดปัจจัยแห่งความสำเร็จชัดเจน

  29. 4 5 6 การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) การวัดผล (Measurements) การเรียนรู้ (Learning) เป้าหมาย (Desired State) 2 1 3 กระบวนการ และเครื่องมือ (Process &Tools) การสื่อสาร (Communication) การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) • ทำให้ทำคนเข้าในถึงสิ่งที่องค์กรจะทำ • ประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับทุกคน • แต่ละคนจะมีส่วนร่วมกันได้อย่างไร (ทำอย่างไรให้เกิด การ “อยาก”ทำ)

  30. การสื่อสาร • รายละเอียด KM • What? จะทำอะไร • Why? จะทำไปเพื่ออะไร • When? ระยะเวลา • How? ทำอย่างไร ช่องทาง - e-mail - จดหมายเวียน - เสียงตามสาย - intranet - ฯลฯ กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการสื่อสาร ความคืบหน้า ของการดำเนินการ ประเมินผล

  31. 4 5 6 การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) การวัดผล (Measurements) การเรียนรู้ (Learning) เป้าหมาย (Desired State) 2 1 3 กระบวนการ และเครื่องมือ (Process &Tools) การสื่อสาร (Communication) การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) • ช่วยให้การค้นหา เข้าถึง ถ่ายทอด และแลกเปลี่ยนความรู้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

  32. เช่น • การจัดเก็บความรู้และวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศในรูปของเอกสาร • สมุดหน้าเหลือง (Yellow Pages) • ฐานความรู้ (Knowledge Bases) ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เช่น • การใช้เทคนิคการเล่าเรื่อง (Story Telling) • การจัดตั้งทีมข้ามสายงาน (Cross-functional team) • กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม (Innovation & Quality Circles : IQCs) • ชุมชนนักปฏิบัติ (Communities of Practice : CoP) • ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring System) • การสับเปลี่ยนงาน (Job Rotation) และการยืมตัวบุคลากรมาช่วยงาน • เวทีสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Forum) ตัวอย่างเครื่องมือและกระบวนการจัดการความรู้

  33. 4 5 6 การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) การวัดผล (Measurements) การเรียนรู้ (Learning) เป้าหมาย (Desired State) 2 1 3 กระบวนการ และเครื่องมือ (Process &Tools) การสื่อสาร (Communication) การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) • เพื่อสร้างความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญและหลักการของ การจัดการความรู้

  34. การฝึกอบรมและการเรียนรู้ (Training and Learning) ตัวอย่างหลักสูตร • KM Awareness & Concept • KM Implementation • ชุมชมแห่งการเรียนรู้ (COP) • การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ฯลฯ

  35. 4 5 6 การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) การวัดผล (Measurements) การเรียนรู้ (Learning) เป้าหมาย (Desired State) 2 1 3 กระบวนการ และเครื่องมือ (Process &Tools) การสื่อสาร (Communication) การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) • เพื่อให้ทราบว่าการดำเนินการได้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ • เพื่อนำผลของการวัดมาใช้ในการปรับปรุงแผนและการดำเนินการให้ดีขึ้น • เพื่อนำผลการวัดมาใช้ในการสื่อสารกับบุคลากรในทุกระดับให้เห็นประโยชน์ ของการจัดการความรู้

  36. การวัดผล (Measurement) การวัดระบบหรือกิจกรรม ในการจัดการความรู้ (System Measures) การวัดปัจจัยส่งออก (Output Measures) การวัดผลลัพธ์ (Outcome Measures) • การเพิ่มของประสิทธิภาพ • และประสิทธิผล • การเพิ่มของระดับความ • พึงพอใจของลูกค้า • ฯลฯ • ความถี่ในการใช้ฐานข้อมูล • จำนวนผู้ร่วมกิจกรรม • ฯลฯ • ความพึงพอใจของ • ผู้ใช้ฐานข้อมูล • จำนวนปัญหา • ที่ได้รับการแก้ไข • ฯลฯ Department of the Navy (DON), USA.

  37. การวัดผล การวัดระบบหรือกิจกรรม ในการจัดการความรู้ (System Measures) การวัดปัจจัยส่งออก (Output Measures) การวัดผลลัพธ์ (Outcome Measures) • ความถี่ในการใช้ฐานข้อมูล • จำนวนผู้ร่วมกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการสื่อสาร ความคืบหน้า ของการดำเนินการ ประเมินผล

  38. การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) การฝึกอบรม - การเรียนรู้ (Training & Learning) การวัดผล (Measurements) วิสัยทัศน์/ พันธกิจ ขอบเขต KM เป้าหมาย (Desired State) ประเด็นยุทธศาสตร์ / กลยุทธ์/ กระบวนงาน การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) กระบวนการ และเครื่องมือ (Process &Tools) การสื่อสาร (Communication) การบูรณาการกระบวนการจัดการความรู้-กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง

  39. การแปลงแนวคิดสู่การปฏิบัติในภาคราชการไทยการแปลงแนวคิดสู่การปฏิบัติในภาคราชการไทย KM Process แนวคิดการจัดการความรู้ (KM : Knowledge Management)ในส่วน ราชการไทยได้นำแนวคิดเรื่องกระบวน การจัดการความรู้ (KM Process) และ กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) มา ประยุกต์ใช้ในการจัดทำแผนการจัดการ ความรู้ Change Management Process

  40. กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) เป็นกระบวนการแบบหนึ่งที่จะช่วยให้ องค์กรเข้าใจถึงขั้นตอนที่ทำให้เกิด กระบวนการจัดการความรู้หรือพัฒนาการ ของความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายในองค์กร กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process)เป็นกรอบความคิดแบบหนึ่ง เพื่อให้องค์กรที่ต้องการจัดการความรู้ภายในองค์กร ได้มุ่งเน้นถึงปัจจัยแวดล้อมภายในองค์กร ที่จะมีผล กระทบต่อการจัดการความรู้ ซึ่งประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ คือ การเตรียมการและปรับเปลี่ยน พฤติกรรม การสื่อสาร กระบวนการ/เครื่องมือ การเรียนรู้ การวัดผล การยกย่องชมเชยและให้รางวัล เพื่อใช้จัดทำแผนการจัดการความรู้ต่อไป

  41. ระบบการให้รางวัลแก่บุคลากรและทีมงานที่มีการแลกเปลี่ยนความรู้ระบบการให้รางวัลแก่บุคลากรและทีมงานที่มีการแลกเปลี่ยนความรู้ c Siriraj KM ขั้นตอนการดำเนินการ ผลลัพธ์ • กำหนดกิจกรรมของกลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับรางวัล • กำหนดเกณฑ์การให้รางวัล • จัดหารางวัลหรือสิ่งตอบแทน • - มอบรางวัลในการมี • ส่วนร่วมกิจกรรม KM • เช่น KM Day,Quality • Fair, IT Week • ให้รางวัลตอบคำถาม • ชิงรางวัลทุก 1 เดือน • ให้รางวัล 100 ท่านแรกที่ร่วม เสวนาความรู้ใน web board ในเดือนพฤษภาคม 2547

  42. แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) หน้าที่ …./…..

  43. ตัวอย่างแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) (หน้าที่ 1/…) ให้ระบุระยะเวลาของการดำเนินกิจกรรมในแต่ละขั้นตอน ให้ระบุค่าเป้าหมายของผลสำเร็จของแต่ละกิจกรรม ให้ระบุงบประมาณค่าใช้จ่ายของแต่ละกิจกรรม ใช้แสดงความคืบหน้าของผลงาน ให้ระบุตัวชี้วัดผลสำเร็จของแต่ละกิจกรรม ให้ระบุเครืองมือ/อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ในแต่ละกิจกรรม ให้ระบุรายละเอียดกิจกรรมหรือสิ่งที่องค์กรจะทำเพื่อให้บรรลุผลในแต่ละขั้นตอน

  44. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ • ผู้บริหาร • บรรยากาศและวัฒนธรรมองค์กร • การสื่อสาร • เทคโนโลยีที่เข้ากับพฤติกรรมและการทำงาน • การให้ความรู้เรื่องการจัดการความรู้และการใช้เทคโนโลยี • แผนงานชัดเจน • การประเมินผลโดยใช้ตัวชี้วัด • การสร้างแรงจูงใจ

  45. กลุ่มตัวอย่าง : 160 คน สำรวจเมื่อ : กรกฏาคม 2548

  46. จะทำอะไรต่อ ? • สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและประโยชน์ของการจัดการความรู้ให้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องในระดับต่างๆ • การสนับสนุนจากผู้บริหารในทุกระดับ • จัดตั้งทีมงาน • กำหนดขอบเขตและเป้าหมายของการจัดการความรู้ (โครงการนำร่อง) • จัดทำแผน

  47. โครงสร้าง KM Team 1. ผู้บริหารระดับสูงสุด จะต้องมีส่วนร่วมในการกำหนดโครงสร้างทีมงาน KM 2. หน่วยงานเจ้าของกระบวนงานตามเป้าหมาย KM (Work Process Owner) ควรประ กอบด้วย ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานนั้น, ผู้รับผิดชอบกระบวนงานนั้น 3. หน่วยข้ามสายงาน (Cross Functional Unit) ที่ต้องเกี่ยวข้อง และ/หรือ มีส่วนที่ ต้องสนับสนุนต่อการดำเนินการตามเป้าหมาย KM เช่น หน่วยงาน IT, ทรัพยากร บุคคล, สื่อสาร/ประชาสัมพันธ์, หน่วยพิจารณาภาพรวมค่าใช้จ่ายขององค์กร ฯลฯ ควรประกอบด้วย ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานนั้น, ตัวแทนผู้รับผิดชอบหน่วยงาน 4. หน่วยงาน /บุคคลอื่นๆ ที่เหมาะสม และผู้บริหารระดับสูงสุดต้องการมอบหมาย 5. กรณีที่การจัดการความรู้ขององค์กร มีความจำเป็นและสามารถจะจัดสรรงบประมาณ ได้ เพื่อจะนำเทคโนโลยีด้าน IT มาใช้ ควรจะมีหน่วยงาน IT เข้าร่วมทีมงาน KM ด้วย

  48. ลักษณะโครงสร้างทีมงาน KM ตัวอย่าง ประธาน (CKO) - ให้การสนับสนุนในด้านต่างๆ เช่น ทรัพยากร - ให้คำปรึกษาแนะนำและร่วมประชุมเพื่อการตัดสินใจแก่คณะทำงาน - ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการดำเนินการ และอุปสรรคต่างๆที่เกิดขึ้นกับคณะทำงาน ที่ปรึกษา - จัดทำแผนงานการจัดการความรู้ในองค์กรเพื่อนำเสนอประธาน - รายงานผลการดำเนินงานและความคืบหน้าต่อประธาน - ผลักดัน ติดตามความก้าวหน้าและประเมินผลเพื่อปรับปรุงแก้ไข - ประสานงานกับคณะที่ปรึกษาและคณะทีมงาน หัวหน้า - นัดประชุมคณะทำงานและทำรายงานการประชุม - รวบรวมรายงานความคืบหน้าการดำเนินงาน - ประสานงานกับคณะทีมงานและหัวหน้า เลขานุการ - ดำเนินการตามแผนงานที่ได้รับมอบหมาย - จัดทำรายงานความคืบหน้าของงานในส่วนที่รับผิดชอบ - เป็น “แบบอย่างที่ดี” ในเรื่องการจัดการความรู้ - เป็น Master Trainer ด้านการจัดการความรู้ ทีมงาน

  49. มีข้อสงสัยและปัญหาต่างๆเกี่ยวกับการดำเนินงาน ด้าน KM ในหน่วยงานของท่าน สามารถติดต่อได้ที่สำนักงาน ก.พ.ร. โทร. 0 2356 9939 หรือ 0 2356 9999 ต่อ 8838 www.opdc.go.th

More Related