1 / 18

สถานภาพปัจจุบันของคณะเกษตรศาสตร์ ภายใต้เงื่อนไขการปรับเปลี่ยนองค์การ

สถานภาพปัจจุบันของคณะเกษตรศาสตร์ ภายใต้เงื่อนไขการปรับเปลี่ยนองค์การ. สรุปผลการสัมนากรรมการสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่และผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 กรกฎาคม 2546 , ประจวบคีรีขันธ์.

Download Presentation

สถานภาพปัจจุบันของคณะเกษตรศาสตร์ ภายใต้เงื่อนไขการปรับเปลี่ยนองค์การ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถานภาพปัจจุบันของคณะเกษตรศาสตร์สถานภาพปัจจุบันของคณะเกษตรศาสตร์ ภายใต้เงื่อนไขการปรับเปลี่ยนองค์การ

  2. สรุปผลการสัมนากรรมการสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่และผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 กรกฎาคม 2546 , ประจวบคีรีขันธ์ 1. มหาวิทยาลัยควรจะเน้นจุดยืน ว่าจะอยู่ตรงจุดใดในท่ามกลางสภาวการณ์เปลี่ยนแปลงของโลกที่มีทั้งแรงผลักดันจากพลังของการตลาดในการหารายได้(market driven) และพลังของสังคม(social concern)

  3. สรุปผลการสัมนากรรมการสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่และผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 กรกฎาคม 2546 , ประจวบคีรีขันธ์ 2. ระบบการจัดสรรงบประมาณของรัฐจะเปลี่ยนไป รัฐจะจัดสรรงบประมาณสำหรับใช้ในการลงทุนและการพัฒนาไว้ที่ส่วนกลาง อีกส่วนหนึ่งจัดสรรให้องค์กรท้องถิ่น ดังนั้นมหาวิทยาลัยจะต้องมีความสามารถในการแข่งขันเพื่อดึงงบประมาณส่วนกลางมาใช้ในการบริหารมหาวิทยาลัย

  4. สรุปผลการสัมนากรรมการสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่และผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 กรกฎาคม 2546 , ประจวบคีรีขันธ์ 3. มีการเปลี่ยนแปลงดุลย์ทางอำนาจเศรษฐกิจโดยประเทศในภูมิภาคนี้พยายามรวมกลุ่มกันเพื่อสร้างอำนาจต่อรอง จังหวัดเชียงใหม่ถูกกำหนดเป้าหมายให้เป็นศูนย์กลางการขนส่งกับประเทศเพื่อนบ้าน

  5. สรุปผลการสัมนากรรมการสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่และผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 กรกฎาคม 2546 , ประจวบคีรีขันธ์ 4. ในการพัฒนาและกำหนดเป้าหมายและพันธกิจของมหาวิทยาลัย ควรสนใจความเคลื่อนไหวและทิศทางการพัฒนาของโลกด้วย

  6. สรุปผลการสัมนากรรมการสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่และผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 กรกฎาคม 2546 , ประจวบคีรีขันธ์ ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงโครงสร้างองค์กร 1. ลดขนาดขององค์กร ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 2. ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยการกระจายอำนาจ 3. สามารถปรับเปลี่ยนได้ง่าย เพื่อสอดคล้องกับพันธกิจ 4. ตรวจสอบและประเมินผลได้ มีกลไกในการตรวจสอบและประเมินผล 5. มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า

  7. สรุปผลการสัมนากรรมการสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่และผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 กรกฎาคม 2546 , ประจวบคีรีขันธ์ โครงการของคณะ ภาควิชา และสาขาวิชาที่เสนอมายังคงเป็นรูปแบบเดิม ซึ่งไม่เหมาะสมกับสภาวะการณ์ในปัจจุบัน จึงขอให้ผู้บริหารมหาวิทยาลัยไปพิจารณาการรวม ยุบ เลิก คณะหรือภาควิชาเพื่อความเป็นเลิศในทางวิชาการ

  8. ระเบียบและประกาศที่เกี่ยวข้องจากมหาวิทยาลัยระเบียบและประกาศที่เกี่ยวข้องจากมหาวิทยาลัย 1. เรื่อง ภาระงานของภาควิชาและหัวหน้าภาควิชาที่พึงประสงค์ และแนวทางการบริหารจัดการในภาควิชาและคณะ (14 ตุลาคม 2545) - ภาควิชามีหน้าที่ดูแลงานการเรียนการสอน พัฒนาหลักสูตร ผลิตบัณฑิต วิจัย บริการวิชาการ และพัฒนาอาจารย์ - ภาควิชาควรมีบุคลากรสายวิชาการ ประมาณ 25 คน ควรหลอมรวมภาควิชาที่มีอาจารย์น้อยเข้าด้วยกันเพื่อประสิทธิภาพการบริหารงาน ควรดำเนินการให้เสร็จภายใน 1 ปี (ภายใน 13 ตุลาคม 2546) - คณะรับผิดชอบงานด้านธุรการ และงานสนับสนุนอื่นๆ แทนภาควิชา

  9. ระเบียบและประกาศที่เกี่ยวข้องจากมหาวิทยาลัยระเบียบและประกาศที่เกี่ยวข้องจากมหาวิทยาลัย 2. เรื่อง การหลอมรวมภาควิชาตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย (1 มกราคม 2546 ) 1. ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจ 2. เปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็น 3. ในเบื้องต้นทดลองรวมงานธุรการของคณะและภาควิชาไว้ที่ส่วนกลาง โดยระยะแรกให้คงธุรการและนักการบางส่วนที่ภาควิชาก่อน เพื่ออำนวยความสะดวกด้านการส่งหนังสือหรือติดต่อระหว่าภาควิชากับคณะ ( ดำเนินการภายใน 6 เดือน, 13 เมษายน 2546 )

  10. ระเบียบและประกาศที่เกี่ยวข้องจากมหาวิทยาลัยระเบียบและประกาศที่เกี่ยวข้องจากมหาวิทยาลัย 3. การกำหนดความจำเป็นให้มีตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ชำนาญการพิเศษในหน่วยงาน พิจารณาจาก 1. ภารกิจหลักของหน่วยงาน 2. หน้าที่ความรับผิดชอบ และลักษณะงานของตำแหน่ง ที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งของ ก.ม.

  11. ความคาดหวังของมหาวิทยาลัยจากกิจกรรมหลอมรวมภาควิชาความคาดหวังของมหาวิทยาลัยจากกิจกรรมหลอมรวมภาควิชา 1. ความเป็นเลิศทางวิชาการ 2. แก้ปัญหาการขาดแคลนผู้บริหารระดับภาควิชา 3. ลดขั้นตอนการบริหารจัดการ 4. ความประหยัด และใช้ทรัพยากรคุ้มค่า 5. ลดความเป็นอาณาจักร เพิ่มความยืดหยุ่นในการดำเนินภารกิจเชิงบูรณาการให้สอดรับนโยบายรัฐบาล

  12. งบประมาณ : เครื่องมือหลักของรัฐบาล - Block grant - จัดงบประมาณให้ตามกิจกรรมที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์รัฐบาล - Performance based budgeting บนฐาน KQI, SAR และ จำนวนบัณฑิต - Activity based budgeting บนฐานกิจกรรมเชิงบูรณาการ, เครือข่ายร่วมวิจัยระหว่างสถาบัน (CRN), FTES, SCCH - ระบบการตรวจสอบที่เป็นมาตรฐานสากล (ระบบบัญชี 3 มิติ, การบริหารสินทรัพย์)

  13. ยุทธศาสตร์และวงเงินงบประมาณแผ่นดิน พ.ศ. 2547 1. ยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ 2. ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ 3. ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาความยากจนและระดับคุณภาพชีวิต 4. ยุทธศาสตร์ความมั่นคงของชาติ การต่างประเทศ และการอำนวยความยุติธรรม 5. ยุทธศาสตร์การจัดการบริหารประเทศ งบประมาณ 1,028,000.00 ล้านบาท คณะเกษตรศาสตร์ จะได้งบประมาณจากส่วนไหน???

  14. คณะเกษตรศาสตร์ต้องทำอย่างไร???คณะเกษตรศาสตร์ต้องทำอย่างไร??? 1.จัดการตัวเองให้พร้อม โดยปฏิรูประบบการบริหารการจัดการองค์กรให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีคุณภาพ ประหยัด สามารถดำเนินการเชิงรุกให้สอดคล้องกระแสการเปลี่ยนแปลงของอุดมศึกษาไทย - อุดมศึกษาโลก และสอดคล้องกับการมีส่วนร่วมพัฒนาท้องถิ่นของประเทศ 2. จัดทำระบบประกันคุณภาพทางวิชาการ 3. เพิ่มขีดความสามารถของผู้บริหารระดับสูงให้มีความเป็นมืออาชีพ

  15. คณะเกษตรศาสตร์วางแนวทางหลอมรวมอย่างไร???คณะเกษตรศาสตร์วางแนวทางหลอมรวมอย่างไร??? 1. มุ่งสู่การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันขององค์กรมากกว่าการหลอมรวมภาควิชาที่มีธรรมชาติคล้ายกัน 2. บนพื้นฐานการมีส่วนร่วมแสดงความเห็นของบุคลากรทุกระดับ 3. ไม่มีแนวความคิดคัดคนออก แต่อาจปรับย้ายให้ตรงกับ ความถนัด 4. เริ่มดำเนินการในส่วน SAR และ KQI ระดับภาควิชาหน่วยงาน

  16. คณะเกษตรศาสตร์วางแนวทางหลอมรวมอย่างไร???คณะเกษตรศาสตร์วางแนวทางหลอมรวมอย่างไร??? 5. จัดตั้งคณะทำงาน - เสนอแนะทางเลือก 3 ทาง แก่กรรมการประจำคณะ - ประชาพิจารณ์ทางเลือกที่ได้คัดเลือกโดยกรรมการประจำคณะ - สรุปรูปแบบเสนอต่อมหาวิทยาลัย ( เดือน สิงหาคม 2546 ) 6. การหลอมรวมธุรการ ( สาย ค และลูกจ้างสายงานที่เกี่ยวข้อง) ใน เดือนเมษายน 2546

  17. คณะเกษตรศาสตร์ คาดหวังอะไรจากการหลอมรวม 1. ความเป็นเลิศทางวิชาการ เป็นที่ยอมรับของชุมชนและ ผู้ประกอบการ 2. คุณภาพบัณฑิตที่มีศักยภาพการแข่งขันสูง 3. ความยืดหยุ่นในการจัดหลักสูตรเชิงสหสาขาวิชา และนานาชาติ 4. การสร้างรายได้จากองค์ความรู้ และนวัตกรรม 5. ความสามัคคีและความอยู่ดีมีสุขของบุคลากร

  18. ขอบคุณ

More Related