1 / 79

การ เตรียม ความพร้อมรองรับ การเข้าสู่ประชาคม อาเซีย นของ ทบ.

การ เตรียม ความพร้อมรองรับ การเข้าสู่ประชาคม อาเซีย นของ ทบ. ๒๒ มกราคม ๒๕๕๖ ๑๐๐๐ - ๑๒๐๐. โดย พ.ท.ศิวัตม์ รัต นอนันต์ ฝสธ. ประจำ ยก.ทบ. . แนะนำตัว. พ.ท.ศิ วัตม์ รัต นอนันต์.

nitsa
Download Presentation

การ เตรียม ความพร้อมรองรับ การเข้าสู่ประชาคม อาเซีย นของ ทบ.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเตรียมความพร้อมรองรับการเตรียมความพร้อมรองรับ การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของ ทบ. ๒๒ มกราคม ๒๕๕๖ ๑๐๐๐ - ๑๒๐๐ โดย พ.ท.ศิวัตม์ รัตนอนันต์ ฝสธ. ประจำ ยก.ทบ.

  2. แนะนำตัว พ.ท.ศิวัตม์ รัตนอนันต์ การศึกษาในประเทศ- โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)- โรงเรียนเตรียมทหาร (นตท. รุ่นที่ ๓๔) - โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร. รุ่นที่ ๔๕) การศึกษาต่างประเทศ (สหราชอาณาจักร) ทุน ทบ. - หลักสูตรนายทหารสัญญาบัตร จาก Royal Military Academy Sandhurst - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา จาก Royal Military College of Science - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการออกแบบโครงสร้างเหล็ก จาก Imperial College • การศึกษาตามแนวทางรับราชการ • หลักสูตรชั้นนายร้อย/นายพัน เหล่า ป. , รร.ป.ศป. • หลักสูตรหลักประจำ รร.สธ.ทบ.สบส.ชุดที่ ๘๖ การรับราชการ: ปตอ.พัน.๔, รร.จปร. ประจำ รร.สธ.ทบ.สบส. ยก.ทบ. ราชการต่างประเทศ: นตต. ประจำ บก. สหประชาชาติ ณ กรุงโซล สาธารณเกาหลี ปัจจุบัน: ฝสธ. ประจำ ยก.ทบ. ปฏิบัติงานที่ กองนโยบายและแผน ยก.ทบ.

  3. ขอบเขตการบรรยาย ๑. ความเป็นมา และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ๒. แนวทางปฏิบัติของ กห. ในการรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ๓. แผนการเปลี่ยนผ่านไปสู่ประชาคมอาเซียน – ทบ. ๔. การซักถาม/แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

  4. ๑. ความเป็นมา และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน • ความเป็นมาของอาเซียน • ประเทศสมาชิกอาเซียน • การเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ • กฎบัตรอาเซียน • เสาหลักของประชาคมอาเซียน

  5. อาเซียน (ASEAN) • อาเซียน (ASEAN) • อาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations หรือ ASEAN) ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ(Bangkok Declaration) ซึ่งได้มีการลงนามที่วังสราญรมย์ เมื่อวันที่๘สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๐

  6. อาเซียน (ASEAN) • รมว.กต.:อินโดนีเซีย ( นายอาดัม มาลิก ) • มาเลเซีย ( นายตุน อับดุล ราซักบิน ฮุสเซน ) • ฟิลิปปินส์ ( นายนาซิโซ รามอส ) • สิงคโปร์ ( นายเอส ราชารัตนัม ) • ไทย ( พันเอก ถนัด คอมันตร์) • ได้ลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯเมื่อวันที่๘สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๐

  7. หลังการจัดตั้งอาเซียนเมื่อ ๘ สิงหาคม ๒๕๑๐ ต่อมาได้มีประเทศอื่นๆ สมัครเข้ามาเป็นสมาชิกเพิ่มเติม ได้แก่ บรูไนดารุสซาราม ( ๗ มกราคม ๒๕๒๗ ) เวียดนาม ( ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๓๘ ) ลาว และพม่า ( ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๐ ) ขณะที่กัมพูชาเข้าเป็นสมาชิก เมื่อ ๓๐ เมษายน ๒๕๔๒

  8. หลังการก่อตั้งอาเซียนในปี ๒๕๑๐... • สมาชิกผู้ก่อตั้งปี ๒๕๑๐ • ไทย • มาเลเซีย • อินโดนีเซีย • ฟิลิปปินส์ • สิงคโปร์ สมาชิกเพิ่มเติม + บรูไน ดารุสซาลาม ปี ๒๕๒๗ + เวียดนาม ปี ๒๕๓๘ + ลาว ปี ๒๕๔๐ + พม่า ปี ๒๕๔๐ + กัมพูชา ปี ๒๕๔๒ ประชากร : ๖๐๐ ล้านคน พื้นที่ :๔.๕ ล้าน ตาราง กม. ศาสนาหลัก:อิสลาม พุทธ คริสต์ ฮินดู GDP รวม:๑.๕ล้านล้านเหรียญสหรัฐ การค้ารวม : ๑.๘ล้านล้านเหรียญสหรัฐ

  9. หลังการก่อตั้งอาเซียนในปี ๒๕๑๐...

  10. อาเซียนมีประเทศสมาชิกทั้งหมด ๑๐ ประเทศ • อาเซียนมีประเทศสมาชิกทั้งหมด ๑๐ ประเทศ ได้แก่ บรูไนดารุสซาราม กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม

  11. สัญลักษณ์ของอาเซียนคือรูปรวงข้าวสีเหลืองบนพื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาวและสีน้ำเงินสัญลักษณ์ของอาเซียนคือรูปรวงข้าวสีเหลืองบนพื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาวและสีน้ำเงิน สีน้ำเงิน:สันติภาพและความมั่นคง สีแดง:ความกล้าหาญและก้าวหน้า สีเหลือง:ความเจริญรุ่งเรือง สีขาว:ความบริสุทธิ์ รวงข้าว ๑๐ ต้น คือ ๑๐ ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียว วงกลม แสดงถึงความเป็นเอกภาพ วันอาเซียน ๘ สิงหาคม

  12. ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิกส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก ธำรงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง เสริมสร้างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาชน พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม ส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอก และองค์การระหว่างประเทศต่างๆ • วัตถุประสงค์ของอาเซียน

  13. การตัดสินใจโดยใช้ฉันทามติ (Consensus) การไม่แทรกแซงในกิจการภายในของกันและกัน (Non-interference) การร่วมมือเพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชน (Prosperity) หลักการพื้นฐานของอาเซียน

  14. สู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ • การประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนครั้งที่ ๙เมื่อ ต.ค.๔๖ ที่บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ผู้นำอาเซียนได้ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน ( Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord ) เห็นชอบให้มีการจัดตั้ง ประชาคมอาเซียน( ASEAN Community ) ภายในปี ๒๕๖๓

  15. สู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ • ต่อมาการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนครั้งที่ ๑๒เมื่อ ม.ค.๕๐ ที่เซบู ประเทศฟิลิปปินส์ ได้ตกลง ให้มีการจัดตั้งประชาคมอาเซียนให้แล้วเสร็จเร็วขึ้น ภายในปี ๒๕๕๘

  16. ทำไมจึงจำเป็นต้องสร้างประชาคมอาเซียนทำไมจึงจำเป็นต้องสร้างประชาคมอาเซียน • ในยุคโลกาภิวัตน์ที่สถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ประเทศต่างๆ ให้ความสำคัญกับการรวมตัวกันในภูมิภาค เพื่อเพิ่มอำนาจต่อรอง และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระหว่างประเทศขณะที่ปัญหาหลายอย่างซึ่งเคยเป็นปัญหาในประเทศ กลับขยายวงกว้างขึ้นเป็นปัญหาระหว่างประเทศ อาทิ ปัญหาสิ่งแวดล้อม ภัยพิบัติทางธรรมชาติ โรคติดต่อ อาชญากรรมข้ามชาติ หรือแม้แต่ปัญหายาเสพติด อาเซียนจึงต้องปรับตัวให้เท่าทันสถานการณ์ เพื่อให้สามารถรับมือกับความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที

  17. เป็นเสมือนธรรมนูญของอาเซียนที่จะวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กร มีเป้าหมาย ๓ ประการ คือ เป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพ มีกฎกติกาในการทำงาน(Rules-based) มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง ประกอบด้วยข้อบทต่างๆ ๑๓บท ๕๕ข้อ มีผลใช้บังคับเมื่อ ๑๕ ธ.ค.๕๑ กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)

  18. ให้อำนาจเลขาธิการอาเซียนสอดส่องและรายงานการทำตามความตกลงของรัฐสมาชิกให้อำนาจเลขาธิการอาเซียนสอดส่องและรายงานการทำตามความตกลงของรัฐสมาชิก จัดตั้งกลไกสำหรับการระงับข้อพิพาทต่างๆ ระหว่างประเทศสมาชิก เพิ่มบทบาทของประธานอาเซียน เพื่อให้อาเซียนสามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉินได้อย่างทันท่วงที กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)

  19. เสาหลักของอาเซียน โครงสร้างภายใต้กฎบัตรอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC ) ประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน ( ASCC ) ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน ( APSC )

  20. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community – APSC) • มีวัตถุประสงค์ที่จะทำให้ประเทศในภูมิภาคอยู่อย่างสันติสุข แก้ไขปัญหาภายในภูมิภาคโดยสันติวิธี และยึดมั่นในหลักความมั่นคงรอบด้าน • ปฏิญญาว่าด้วยเขตสันติภาพและวางตนเป็นกลาง (ปี ๒๕๑๔) • ปฏิญญาว่าด้วยทะเลจีนใต้ (ปี๒๕๓๕)

  21. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community – APSC) • ริเริ่มการประชุมว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย -แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum-ARF)ซึ่งจัดเป็นครั้งแรกที่กรุงเทพฯ เมื่อปี ๒๕๓๗ • จัดทำสนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ ในปี ๒๕๓๘

  22. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community-AEC) • มีวัตถุประสงค์เพื่อทำให้อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว • มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุนและแรงงานมีฝีมือ อย่างเสรี • จัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน(ASEAN Free Trade Area- AFTA) ในปี ๒๕๓๕

  23. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน  (ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC) • มุ่งหวังเป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ประชากรมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีและมีการพัฒนาในทุกด้านเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน

  24. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน  (ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC)

  25. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละเสาหลักอาเซียนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละเสาหลักอาเซียน • เสาการเมืองความมั่นคง • กลาโหม • มหาดไทย • แรงงาน • สำนักงานตำรวจ • แห่งชาติ • อัยการสูงสุด • คณะกรรมการสิทธิ • มนุษยชน • สมาคมอาเซียน-ปทท. • CSCAP • ฯลฯ • เสาเศรษฐกิจ • พาณิชย์ • การคลัง • เกษตรและสหกรณ์ • พลังงาน • อุตสาหกรรม • เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร • การท่องเที่ยวและกีฬา • ฯลฯ • เสาสังคมและวัฒนธรรม • การท่องเที่ยวและกีฬา • ศึกษาธิการ • วัฒนธรรม • การพัฒนาสังคมและ • ความมั่นคงมนุษย์ • วิทยาศาสตร์และ • เทคโนโลยี • สาธารณสุข • ฯลฯ คณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ (๒๘ คน) รมว.กต. เป็นประธานฯ, อธิบดีกรมอาเซียน เป็นกรรมการและเลขาฯ

  26. ๒. แนวทางปฏิบัติของ กห. ในการรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘

  27. ๒. แนวทางปฏิบัติของ กห. ในการรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ • เป้าหมายในการดำเนินการ • กห. สามารถปฏิบัติภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการวางแผนในการเตรียมการด้านกำลังพล ยุทโธปกรณ์ งบประมาณ และการบริหารจัดการต่างๆ ได้อย่างสอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และรองรับในการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘

  28. ๒. แนวทางปฏิบัติของ กห. ในการรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ การมีส่วนร่วมของ กห. ในการจัดตั้งประชาคมอาเซียนสามารถแบ่งออกเป็น ๒ บทบาท ได้แก่ ๑. การมีส่วนในการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ๒. การมีส่วนในการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคง อาเซียน

  29. กห. กับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ การดำเนินการ ๓ ด้าน ๗ แนวทาง ๑. แนวทางการพัฒนาด้านกำลังพล จำนวน ๑ แนวทาง ๒. แนวทางการพัฒนาด้านการจัดทำงบประมาณ จำนวน ๑ แนวทาง ๓. แนวทางการพัฒนาด้านการบริหารจัดการ จำนวน ๕ แนวทาง

  30. กห. กับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘

  31. กห. กับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘

  32. กห. กับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ PACC/PAMS ACAMM

  33. กห. กับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘

  34. กห. กับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘

  35. กห. กับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘

  36. กห. กับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘

  37. ๒. แนวทางปฏิบัติของ กห. ในการรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ กห. ได้นำแผนการดำเนินงาน ๓ ด้าน ๗ แนวทาง ของ สป., บก.ทท., ทบ., ทร, และ ทอ. มาจัดทำเป็น แผนปฏิบัติการ ๓ ปี กห. (ปี ๕๖ – ๕๘) ในการเตรียมความพร้อม เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี ๒๕๕๘

  38. กห. การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน การดำเนินการตามเอกสารแนวความคิด (Concept Paper) ในกรอบการประชุม ADMM และ ADMM – Plus จำนวน ๙ ฉบับ

  39. กห. การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ADMM คือ การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน ( ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM )

  40. การประชุม รมว.กห.อาเซียน ( ADMM )

  41. ADMM คือ การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน ( ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM ) • ผู้เข้าร่วมการประชุมฯ ประกอบด้วย รมว.กห. หรือผู้แทนของประเทศสมาชิกอาเซียน๑๐ประเทศและเลขาธิการอาเซียน • มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค ให้คำแนะนำและเสนอแนวทางต่อเวทีการหารือและความร่วมมือที่มีอยู่แล้วของเจ้าหน้าที่ระดับสูงภายในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน และระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนกับประเทศอื่นๆ

  42. ความร่วมมืออาเซียนในกรอบการทหาร เป็นไปในลักษณะของการหารือเพื่อเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจเป็นหลัก โดยมี การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน(ASEANDefenseMinisters’ Meeting :ADMM) ซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการกระชับความร่วมมือ

  43. กห. การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ADMM - Plus คือ การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคู่เจรจา ( ASEAN Defence Ministers’ Meeting - Plus : ADMM - Plus ) โดย มีประเทศคู่เจรจา ๘ ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย จีน อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ นิวซีแลนด์รัสเซีย และสหรัฐฯ

  44. กห. การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ADMM - Plus จำนวน ๕ ฉบับ (ตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญฝ่ายไทยแล้ว) ๑. เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงทางทะเล (ADMM – Plus: Maritime Security Working Group Concept Paper) ๒. เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญด้านการให้ความช่วยเหลือ ด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ (ADMM – Plus: Concept Paper for the Establishment an Experts’ Working Group on Humanitarian Assistance and Disaster Relief (HADR)) ๓. เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญด้านการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (ADMM – Plus: Work Plan of the Experts’ Working Group on Peacekeeping Operations) ๔. เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์ทางทหาร (ADMM – Plus: Experts’ Working Group on Military Medicine work plan) ๕. เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญด้านการต่อต้านการก่อการร้าย (ADMM – Plus: Concept Paper for the Counter Terrorism Experts’ Working Group)

  45. กห. การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ADMM จำนวน ๔ ฉบับ ๑. เอกสารแนวความคิดเรื่องความร่วมมือระหว่างกลาโหมอาเซียนกับองค์กรภาคประชาสังคม ในด้านความมั่นคงรูปแบบใหม่ (Concept Paper on ASEAN DefenceEstablishments and Civil Society Organisations (CSOs) Cooperation on Non – Traditional Security) (อยู่ระหว่างการจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายไทย) ๒. เอกสารแนวความคิดเรื่องการใช้ทรัพยากรและศักยภาพทางทหารอาเซียน ในการให้ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ (Concept Paper on the Use of ASEAN Military Assets and Capacities in Humanitarian Assistance and Disaster Relief) (อยู่ระหว่างการจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายไทย) ๓. เอกสารแนวความคิดว่าด้วยความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศในกรอบอาเซียน (Concept Paper on ASEAN DefenceIndustry Collaboration) (มอบหมายให้ ศอพท. เป็นหน่วยรับผิดชอบในการดำเนินการโดยคณะกรรมการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ กห.) ๔. เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งเครือข่ายศูนย์ปฏิบัติการรักษาสันติภาพในกรอบอาเซียน (Concept Paper on the Establishment of ASEAN Peacekeeping Centers Network) (อยู่ระหว่างการจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายไทย)

  46. กห. การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญ ด้านความมั่นคงทางทะเล (ADMM – Plus: Maritime Security Working Group Concept Paper) (จัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญฝ่ายไทยแล้ว) เอกสารแนวความคิดเรื่องความร่วมมือระหว่างกลาโหมอาเซียน กับองค์กรภาคประชาสังคมในด้านความมั่นคงรูปแบบใหม่ (Concept Paper on ASEAN Defence Establishments and Civil Society Organisations (CSOs) Cooperation on Non – Traditional Security) (อยู่ระหว่างการจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายไทย) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญ ด้านการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ (ADMM – Plus: Concept Paper for the Establishment an Experts’ Working Group on Humanitarian Assistance and Disaster Relief (HADR)) (ตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญฝ่ายไทยแล้ว) เอกสารแนวความคิดเรื่องการใช้ทรัพยากรและศักยภาพ ทางทหารอาเซียนในการให้ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติ (Concept Paper on the Use of ASEAN Military Assets and Capacities in Humanitarian Assistance and Disaster Relief) (อยู่ระหว่างการจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายไทย) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะทำงาน ผู้เชี่ยวชาญด้านการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (ADMM – Plus: Work Plan of the Experts’ Working Group on Peacekeeping Operations) (จัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญฝ่ายไทยแล้ว) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยความร่วมมือ ด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศในกรอบอาเซียน (Concept Paper on ASEAN Defence Industry Collaboration) (มอบหมายให้ ศอพท. เป็นหน่วยรับผิดชอบในการดำเนินการ โดยคณะกรรมการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ กห.) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะทำงาน ผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์ทางทหาร (Experts’ Working Group on Military Medicine work plan) (จัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญฝ่ายไทยแล้ว) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งเครือข่าย ศูนย์ปฏิบัติการรักษาสันติภาพในกรอบอาเซียน (Concept Paper on the Establishment of ASEAN Peacekeeping Centers Network) (อยู่ระหว่างการจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายไทย) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะทำงาน ผู้เชี่ยวชาญด้านการต่อต้านการก่อการร้าย (ADMM – Plus: Concept Paper for the Counter Terrorism Experts’ Working Group) (จัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญฝ่ายไทยแล้ว)

  47. กห. การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ภาพรวมคณะกรรมการและคณะทำงานของ กห. (๑๐ คณะ) คณะกรรมการอาเซียน กห. (อยู่ระหว่างการจัดตั้ง) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญ ด้านความมั่นคงทางทะเล (จัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญฝ่ายไทยแล้ว) เอกสารแนวความคิดเรื่องความร่วมมือระหว่างกลาโหมอาเซียน กับองค์กรภาคประชาสังคมในด้านความมั่นคงรูปแบบใหม่ (อยู่ระหว่างการจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายไทย) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญ ด้านการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ (ตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญฝ่ายไทยแล้ว) เอกสารแนวความคิดเรื่องการใช้ทรัพยากรและศักยภาพ ทางทหารอาเซียนในการให้ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติ (อยู่ระหว่างการจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายไทย) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญ ด้านการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (จัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญฝ่ายไทยแล้ว) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยความร่วมมือ ด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศในกรอบอาเซียน (มอบหมายให้ ศอพท. เป็นหน่วยรับผิดชอบในการดำเนินการ โดยคณะกรรมการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ กห.) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญ ด้านการแพทย์ทางทหาร (จัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญฝ่ายไทยแล้ว) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งเครือข่าย ศูนย์ปฏิบัติการรักษาสันติภาพในกรอบอาเซียน (อยู่ระหว่างการจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายไทย) เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญ ด้านการต่อต้านการก่อการร้าย (จัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญฝ่ายไทยแล้ว)

  48. สรุปภาพรวมแผนผังการประชุมที่เกี่ยวข้องในกรอบประชาคมอาเซียนสรุปภาพรวมแผนผังการประชุมที่เกี่ยวข้องในกรอบประชาคมอาเซียน ASEAN Economic กฎบัตรอาเซียน ASEAN Socio - Cultural ASEAN Political-Security ACAMM - ASEAN Chiefs of Armies Multilateral MeetingAAFCC - ASEAN Air Force Chiefs ConferenceANI - ASEAN Navies’ InteractionACDFIM - ASEAN Chiefs of Defence Forces Informal MeetingAMIIM - ASEAN Military Intelligence Informal MeetingAWGSC - ASEAN Working Group on Security CooperationADSOM - ASEAN Defence Senior Officials Meeting ADMM - ASEAN Defence Ministers Meeting SOM - ASEAN Senior Official’s Meeting AMM - ASEAN Minister’s Meeting ARF ISG DOD - ASEAN Regional Forum Inter - Sessional Group Meeting Defence Official’s DialogueARF SOM DOD - ASEAN Regional Forum Senior Official’s Meeting Defence Official’s Dialogue ASPC - ASEAN Regional Forum Security Policy Conference ARF - ASEAN Regional Forum Community Council Community Council Community Council (ASEAN CHARTER) นโยบายด้านการต่างประเทศของรัฐบาล ความร่วมมือในกรอบอาเซียน (ASEAN) ASEANSummit ASEANCoordinating Council การประสานงาน การประสานงาน การประชุมห้วง เดียวกัน ADSOM-PLUSWG ARF DOD ARF SOM ARF MM ARF ISG on CMBs กห. ASEAN SOM ADSOM ASPC กต. AMM ACDFIM AAFCC ACAMM ANI ADMM ARF DOD ADSOM-Plus ADMM-Plus ADSOM WG AMIIM กระทรวงอื่นๆ หน่วยงานอื่นๆ กิจกรรมและการประชุมต่างๆในกรอบ ASEAN ARF ISM on ... ARF DOD Experts’ WG * ACDFIM = ASEAN CHIEF OF DEFENCE FORCES INFORMAL MEETING

  49. กองทัพไทยกับความร่วมมือด้านความมั่นคงอาเซียน • การให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ ( Humanitarian Assistance and Disaster Relief : HADR ) • ความมั่นคงทางทะเล ( Maritime Security ) • การต่อต้านการก่อการร้าย ( Counter – Terrorism ) • การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ ( Peace Keeping ) • ความร่วมมือทางการแพทย์ทหาร ( Military Medicine )

More Related